Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.advisorพันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์-
dc.contributor.authorสุนีย์ จุไรสินธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-03-09T09:40:40Z-
dc.date.available2011-03-09T09:40:40Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741420129-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14772-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการสืบสอบสไตล์การเป็นผู้นำและสไตล์การบริหารของอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีผลต่อคณาจารย์และนักศึกษา เป็นวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผลการวิจัยเกี่ยวกับภูมิศาสตร์อำนาจและความเป็นศูนย์กลางบ่งชี้ว่าสไตล์การเป็นผู้นำและสไตล์การบริหารของอธิการบดี มีผลต่อสัมฤทธิผลของงานด้านต่างๆ ซึ่งขึ้นกับการสื่อสารและความใกล้ชิดระหว่างผู้ปฏิบัติงานกับอธิการบดี ผลการวิเคราะห์สาระพบว่า เป้าหมายสำคัญที่สุดของมหาวิทยาลัยราชภัฏ คือความเป็นเลิศทางวิชาการ อันเป็นผลงานโดยตรงของคณาจารย์และนักศึกษาซึ่งเป็นหลักสำคัญ อนึ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เพิ่งยกระดับฐานะจากสถาบันเป็นมหาวิทยาลัยและครอบคลุมภูมิศาสตร์ทั่วประเทศ โดยมีเอกลักษณ์แห่งการเป็นแหล่งวิชาการระดับสูงเพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็ง เอกสารบทต่างๆ บ่งชี้พันธกิจ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายแห่งความเป็นเลิศทางวิชาการ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะสืบค้นว่าสไตล์การเป็นผู้นำและสไตล์การบริหารตามสภาพความเป็นจริงสนองตอบต่อพันธะสัญญาทางการที่เขียนไว้หรือไม่ การวิจัยนี้ เก็บข้อมูลแบบสามเส้า โดยใช้การพิจารณาตัดสินของอธิการบดี ผู้บริหารอื่นๆ คณาจารย์ และนักศึกษาเกี่ยวกับมิติการปฏิบัติงานจริงตามสไตล์ของอธิการบดี ผู้วิจัยใช้เทคนิคเหตุการณ์วิกฤตในการสัมภาษณ์อธิการบดี 16 คน ซึ่งเป็นตัวอย่างของ 8 มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ และ 8 มหาวิทยาลัยขนาดเล็ก แบบสอบถามส่งไปยังผู้บริหาร 161 คน คณาจารย์ 472คน และ นักศึกษา 2,177 คน รวมตัวอย่างทั้งสิ้น 2,826 คน การวิเคราะห์ข้อมุลทำโดยการวิเคราะห์สาระร่วมกับสถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ตัวประกอบ นอกจากนั้น ยังทำสังคมมิติของอธิการบดีกับประชาคมด้วย ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าไมมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่ม 16 กรณีศึกษา ภาพสังคมมิติแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ผลกระทบที่มีต่อคณาจารย์และนักศึกษาเป็นระยะไกล ในขณะที่วงในของกลุ่มผู้บริหารผูกขาดผลกระทบระยะใกล้ ถึงแม้ว่าผลการวิเคราะห์ตัวประกอบแสดงผลพ้องต้องกันกับผลการวิเคราะห์สาระจากการสัมภาษณ์อธิการบดี คือ ได้สไตล์ผู้นำและสไตล์การบริหาร 4 ชุด อย่างไรก็ดี สไตล์เด่นชัดที่สุด คือ สไตล์ที่ 1 ดังต่อไปนี้ (1) สไตล์การเป็นผู้นำแบบวิสัยทัศน์ คู่กับสไตล์การบริหารแบบประชาธิปไตยในกรอบกฎระเบียบ (2) สไตล์การเป็นผู้นำแบบให้คำปรึกษาแนะนำให้แรงเสริม คู่กับสไตล์การบริหารแบบเชิงธุรกิจเสรี (3) สไตล์การเป็นผู้นำแบบบารมี คู่กับสไตล์การบริหารแบบสะท้อนกลับ (4) สไตล์การเป็น ผู้นำแบบห่างเหิน คู่กับ สไตล์การบริหารแบบเผด็จการ จุดเด่นของผลงานคือ อธิการบดี เน้นการบริหารมากกว่าการเป็นผู้นำ และยืนยันว่าพันธะสัญญาในเอกสารไม่สอดรับกับการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งยืนยันได้โดยประชาคมทั้งหมดว่าจุดอ่อน 3 อันดับแรก ซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับคุณภาพของคณาจารย์และนักศึกษา อันเป็นตัวบ่งชี้ผลการทำงานตามสไตล์ของอธิการบดี จุดอ่อนดังกล่าว ได้แก่ ความเป็นเลิศทางวิชาการ คุณภาพของบัณฑิต และชื่อเสียงของคณาจารย์en
dc.description.abstractalternativeAn Inquiry into the impact of Rajabhat university presidents' leadership and administrative styles on faculty and students is the objective of this research. Relevant research findings on geography of power and centrality indicate that such styles have impacts on quality of students and faculty, the mainstay of university academic excellence. Rajabhat universities have recently been upgraded from institutes and geographically cover the Kingdom of Thailand extensively. Prevalent uniqueness lies in being the higher learning resources for local community strength and development. Written documents delineate missions, visions, strateges and goals all indicative of academic excellence. It is, therefore, interesting to discover whether actual leadership and administrative styles do serve such formal commitments or not. The study is triangulated with the judgments of presidents, other administrators; faculty and students on actual dimensions of presidential styles. Critical incidents techniques were used in the interviews with 16 presidents a sample of 8 large and 8 small universities. Survey questionnaires were collected from 161 administrators 472 faculty and 2,177 students. The total sample is, therefore, 2,826. Data were analyzed by content analysis with descriptive statistics, ANOVA and factor analysis. Moreover, sociometries were constructed on the basis of presidential communications with his constituencies. Results indicated nonsignificant differences among the 16 case studies. Sociometries portray obvious distal impacts on faculty and students, whereas inner circles of administrators monopolze proximal impacts. Even though factor analysis reveals concomitant results with content analysis of presidential interviews with 4 sets of leadership and administrative styles. The most evident of all styles in the number one, as follows: (1) visionary leadership with regulatory democratic; 92) coaching with entrepreneurial people-oriented; (3) charismatic with resonance; (4) distal with authorization. Highlights of the study ascertain presidents as more administrative prone than leadership-oriented. It is also confirmed that written commitments are incoherent with actual communications, as confirmed by all constituencies that the first three lacks in Rajabhat universities are directly connected to faculty and student qualities, an important indicator of presidential styles. Such insufficiencies are academic excellence, quality of graduates and reputations of faculty.en
dc.format.extent1321294 bytes-
dc.format.extent3949948 bytes-
dc.format.extent12288840 bytes-
dc.format.extent1686081 bytes-
dc.format.extent12815561 bytes-
dc.format.extent6516742 bytes-
dc.format.extent4356860 bytes-
dc.format.extent20091247 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1257-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาen
dc.subjectผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาen
dc.subjectอธิการบดีen
dc.titleการสืบสอบสไตล์การเป็นผู้นำและสไตล์การบริหารของอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีผลต่อคณาจารย์และนักศึกษาen
dc.title.alternativeAn inquiry into the impact of Rajabhat University presidents' leadership and administrative styles on faculty and studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornchulee.A@Chul.ac.th-
dc.email.advisorPansak.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1257-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
cover_content.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
chpater1.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open
chpater2.pdf12 MBAdobe PDFView/Open
chpater3.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
chpater4.pdf12.52 MBAdobe PDFView/Open
chpater5.pdf6.36 MBAdobe PDFView/Open
reference.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open
sunee_ch-appendix.pdf19.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.