Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทนา จิรธรรมนุกูล-
dc.contributor.authorพิชญนันท์ ภู่เพียงใจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-03-10T07:38:57Z-
dc.date.available2011-03-10T07:38:57Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14781-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์อนุพันธ์อะคริเลตของแอลกอฮอล์เอสเทอร์ของกรดไขมันจากน้ำมันเมล็ดในปาล์ม เพื่อนำมาใช้เป็นโอลิโกเมอร์ในสูตรสารเคลือบผิวที่บ่มได้รังสีอัลตราไวโอเลต โดยได้ทำการศึกษาหาภาวะและสารเคมีที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ ศึกษาหาสัดส่วนองค์ประกอบที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ ศึกษาหาสัดส่วนองค์ประกอบที่เหมาะสมในการทำสูตรสารเคลือบผิวจากน้ำมันเมล็ดในปาล์ม และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการบ่มตัวและสมบัติทางกายภาพของผิล์มสารเคลือบผิวจากน้ำมันเมล็ดในปาล์ม น้ำมันเมล็ดในปาล์มทำปฏิกิริยาแอลกอฮอลิซิสกับพอลิแอลกอฮอล์ได้ผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นอนุพันธ์แอลกอฮอล์เอสเทอร์ของกรดไขมัน เมื่อนำไปทำปฏิกิริยาเอสเทอร์ริฟิเคชันต่อกับเมทิลเมทาคริเลตที่อุณหภูมิ 60℃ เป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดยไม่มีตัวเร่ง จะได้ผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นอนุพันธ์อะคริเลตของแอลกอฮอล์เอสเทอร์ของกรดไขมันจากน้ำมันเมล็ดในปาล์ม ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นโอลิโกเมอร์ในสูตรสารเคลือบผิวที่บ่มได้ด้วยรังสีอัตราไวโอเลต แล้วพบว่า มีสมบัติความอ่อนตัวและความติดแน่นที่ดี แต่ใช้พลังงานในการบ่มด้วยรังสีอัตราไวโอเลตสูงกว่าสารเคลือบผิวทางการค้า การใโอลิโอเมอร์ทางการค้าเข้าไปเป็นองค์ประกอบร่วมในสารเคลือบผิวจากน้ำมันเมล็ดในปาล์มจะช่วยลดพลังงานที่ใช้ในการบ่มตัวและเพิ่มสมบัติความทนต่อแรงกระแทกของฟิล์ม นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสุตรสารเคลือบผิวจากน้ำมันเมล็ดในปาล์มด้วยกัน พบว่าในสูตรที่ใช้อนุพันธ์อะคริเลตของกลีเซอรอลเอสเทอร์ของกรดไขมันเป็นโอลิโกเมอร์จะใช้พลังงานในกาบ่มที่ตำกว่า และให้ฟิล์มที่มีสมบัติเชิงกลที่ดีกว่าสูตรสารเคลือบผิวที่ใช้อนุพันธ์อะคริเลตของไกลคอลเอสเทอร์ของกรดไขมันเป็นโอลิโกเมอร์.en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to prepare fatty acid alcohol ester acrylate from kernel palm oil and use as an oligomer in ultraviolet curable coating formulation. The study was conducted to fine optimum conditions in preparation, and, proper ultraviolet curable coating formulation. In addition, the physical properties of cure film were also studied Kernel palm oil was reacted with polyalcohol giving fatty acid alcohol ester. Then the product was esterified with methyl methacrylate at 60℃ for 1 hour without catalyst resulting fatty acid alcohol ester acrylate. The obtained acrylate was used as on oligomer in ultraviolet curable coating formulation. The synthetic acrylate required higher energy in curing process than commercial acrylate. However, using the blend of prepared acrylate and commercial acrylate as oligomers in the formulation lowered the energy in cure process and enhanced adhesion as well as impact strength of the films.en
dc.format.extent2121557 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.189-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเรซินen
dc.subjectรังสีเหนือม่วงen
dc.subjectปาล์มน้ำมันen
dc.subjectสารเคลือบen
dc.titleการเตรียมเรซินที่บ่มได้ด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตจากน้ำมันเมล็ดในปาล์มen
dc.title.alternativePreparation of ultraviolet curable resin from palm kernel oilen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorjnantana@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.189-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pichayanan.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.