Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1511
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภิญโญ มีชำนะ | - |
dc.contributor.author | เฉลิมพล ใจหนัก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-07T02:34:23Z | - |
dc.date.available | 2006-08-07T02:34:23Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741771819 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1511 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการนำถ่านหินจากเหมืองเชียงม่วน จังหวัดพะเยา และเหมืองสบปราบ จังหวัดลำปางขนาดอนุภาค 9-13 เซนติเมตรมาตรวจสอบสมบัติทางกายภาพและทางเคมี เพื่อนำไปทดลองผลิตก๊าซเชื้อเพลิงในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (Fixed-Bed Gasifier) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร สูง 750 เซนติเมตร โดยมีตัวแปรที่ศึกษาคือ อุณหภูมิที่ใช้ในการทดลอง 750, 850 และ 950 องศาเซลเซียส อัตราการป้อนอากาศ 3.0, 4.0, 5.0 และ 6.0 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และสัดส่วนของ Oxygen Rich Air 40%, 60% และ 100% ซึ่งการทดลองเหล่านี้ทำที่ความดัน 1 บรรยากาศ จากการศึกษาพบว่า ภาวะที่เหมาะสมในการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากถ่านหินเชียงม่วนคือ ใช้ Oxygen Rich Air/Steam เป็นสารตัวกลางที่สัดส่วนของ Oxygen Rich Air 100% อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส ก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้มีองค์ประกอบของก๊าซที่เผาไหม้ได้คือ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ 24.70% ก๊าซไฮโดรเจน 42.82% และก๊าซมีเทน 2.70% ค่าความร้อนของก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้เท่ากับ 9.130 เมกกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร ประสิทธิภาพของการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง 65% ภาวะที่เหมาะสมในการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากถ่านหินสบปราบคือใช้ Oxygen Rich Air/Steam เป็นสารตัวกลางในเตาปฏิกรณ์แบบเบดนิ่งที่สัดส่วนของ Oxygen Rich Air 100% อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส ก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้มีองค์ประกอบของก๊าซที่เผาไหม้ได้คือ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ 25.57% ก๊าซไฮโดรเจน 43.97% และก๊าซมีเทน 2.94% ค่าความร้อนของก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้เท่ากับ 9.340 เมกกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร ประสิทธิภาพของการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง 67% | en |
dc.description.abstractalternative | In this study a column of fixed-bed gasifier diameter 10 cm. and 750 cm. height has been investigated. The test run onthe gasification of 2 coal types, Chiang Muan coal and Lampang coal, with particle size range of 9-13 cm. The interesting experiment parameters were reaction temperatures (varying at 750, 850 and 950 ํC) air flow rates (varying at 3.0, 4.0, 5.0 and 6.0 qb.m./hr) and proportion of Oxygen Rich Air (varying 40%, 60% and 100%) respectively. These experiments were done at atmospheric pressure. The result showed that the optimum operating condition in the fixed-bed gasifier for Chiang Muan coal is the use of 100% oxygen rich air and steam as reagent gas. The combustible component in producer gas was composed of carbon monoxide 24.70%, hydrogen 42.82% and methane 2.70% with heating value of 9.013 MJ/qb.m. and gasification efficiency of 65%. For Sobprab coal, the optimum operating condition inthe fixed-bed gasifier the use of 100% oxygen rich air and steam as reagent gas. The combustible componentin produced gas was composed of carbon monoxide 25.57%, hydrogen 43.97% and methane 2.94% with heating value of coal gas of 9.340 MJ/qb.m. and gasification efficiency of 67%. | en |
dc.format.extent | 2146052 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การผลิตก๊าซจากถ่านหิน | en |
dc.subject | ก็าซเชื้อเพลิง | en |
dc.subject | ลิกไนต์ | en |
dc.title | การศึกษาการผลิตก๊าซจากลิกไนต์โดยใช้เทคโนโลยีแบบเบดนิ่ง | en |
dc.title.alternative | Study of lignite gasification using fixed-bed technology | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเหมืองแร่ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chalermpol.pdf | 1.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.