Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15311
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorจรัสลักษณ์ ผลบริบูรณ์เจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-06-27T01:42:59Z-
dc.date.available2011-06-27T01:42:59Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743339078-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15311-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ (1) เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้หางานในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชน (2) เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนในทัศนะของผู้หางานที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับบริษัทจัดหางานเอกชนกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชน (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับบริษัทจัดหางานเอกชนกับการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชน (5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนกับการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชน (6) เพื่อศึกษาว่าตัวแปรใดสามารถอธิบายการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชนได้มากที่สุด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้หางานในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 405 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้วิธีการทางสถิติ t-test, การวิเคราะห์ความแปรปรวน, การคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้หางานหญิงและผู้หางานชายมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนแตกต่างกัน 2. ผู้หางานที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนแตกต่างกัน 3. ผู้หางานที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนแตกต่างกัน 4. ผู้หางานที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนแตกต่างกัน 5. การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับบริษัทจัดหางานเอกชนจากสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชน แต่จากสื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจ ไม่มีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชน 6. การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับบริษัทจัดหางานเอกชนมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชน 7. ภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชน 8. ภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนไม่สามารถอธิบายการใช้บริการจัดหางานของบริษัทจัดหางานเอกชนได้มากที่สุด.en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1. To survey the image of the recruitment agency from the view of job seekers in Bangkok. 2. To study the image of the recruitment agency from the view of job seekers who had different demographic characteristics. 3. To study the relationship between media exposure and the image of the recruitment agency. 4. To study the relationship between media exposure and the job seekers' use of employment services. 5. To study the relationship between the image of the recruitment agency and the job seekers' use of employment services. 6. To study the factor that could explain the job seekers' use of employment services most. The samples were 405 job seekers in Bangkok. Questionnaires were used for data collection. Percentage, mean, t-test, One-way ANOVA, Pearson's Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis were used for the analysis of the data. The SPSS Program was used for data processing. The results of this research were as follows: 1. Male and female job seekers had different views concerning the images of the recruitment agency. 2. Job seekers different in age had different views concerning the image of the recruitment agency. 3. Job seekers differen in education level had different views concerning the image of the recruitment agency. 4. Job seekers different in economic status had different views concerning the image of the recruitment agency. 5. Exposure to mass media positively correlated with the image of the recruitment agency while exposure to interpersonal and specialized did not correlate with the image of the recruitment agency. 6. Media exposure positively correlated with the job seekers' use of employment services. 7. The image of the recruitment agency positively correlated with the job seekers' use of employment services. 8. The image of the recruitment agency was not able to explain the job seekers' use of employment services most.en
dc.format.extent13455518 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.342-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การen
dc.subjectบริษัทจัดหางานen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectทัศนคติen
dc.subjectพฤติกรรมen
dc.subjectการหางานen
dc.subjectบริการจัดหางานen
dc.titleภาพลักษณ์ของบริษัทจัดหางานเอกชนกับการใช้บริการของผู้หางานen
dc.title.alternativeThe image of recruitment agency and job seekers'use of employment servicesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParama.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.342-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charaslak_Ph.pdf13.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.