Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15546
Title: Risk assessment of chlorpyrifos (organophosphate pesticide) associated with dermal exposure in chilli-growing farmers at Ubonrachatani province, Thailand
Other Titles: การประเมินความเสี่ยงจากการได้รับสัมผัสคลอร์ไพรีฟอส (สารกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต) ผ่านทางผิวหนังของเกษตรกรผู้ปลูกพริก จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย
Authors: Nutta Taneepanichskul
Advisors: Wattasit Siriwong
Robson, Mark Gregory
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: wattsit@truemail.co.th
robson@aesop.rutgers.edu
Subjects: Chlorpyrifos
Pesticides -- Risk Assessment
Farmers -- Thailand -- Ubon Ratchathani
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Risk assessment of chlorpyrifos (organophosphate pesticide) associated with dermal exposure in chilli-growing farmers was studied during growing season from December 2009 to January 2010 at Hua-rau sub-district, Muang district, Ubonratchathani province, Thailand. Chlorpyrifos residue on chilli-growing farmers’ hands after spraying were collected using hand-wiping technique from 35 farmers (26 men and 9 women) by using simple random sampling technique from all chilli- growing farmers in this area. The results showed that an age range of the participants was 40-50 years old. The average weight (mean±SD) was 56.3±11.1 Kg. Hand surface areas of male and female were 0.088 sq.m. and 0.075 sq.m., respectively. The mean concentration (±SD) of chlorpyrifos analyzed by using gas chromatograph with a selective detector, flame photometric detector (FPD) was 6.95±18.24 mg/kg/two hands (0.01-98.59 mg/kg/two hands). To evaluate health risk of the chilli-growing farmers in this community, an average daily dose (ADD) was calculated using reasonable maximum exposure (RME) at 95th percentile of chlorpyrifos concentration in order to health awareness and prevention. The ADD of farmers was 2.51 x 10[superscript -9] mg/kg/day and the ADD of male farmers (2.57 x 10[superscript -9] mg/kg/day) was higher than female farmers (2.41 x 10-9 mg/kg/day). Using hazard quotient (HQ) for risk characterization, it indicated that the HQ of farmers was lower than the acceptable level 1.0 (HQ = 1.67 x 10[superscript -6]). Both of the HQ for male and female farmers were lower than the acceptable level, 1.71 x 10[superscript -6] and 1.61 x 10[superscript -6], respectively. In conclusion, the chilli-growing farmers were not at risk with non-carcinogenic effects from dermal exposure. This study suggests that other exposure routes e.g. inhalation and oral should be considered and evaluated because the farmers had mentioned on acute and repeated or prolonged effects of organophosphates after their application.
Other Abstract: การประเมินความเสี่ยงจากการรับสัมผัสสารคลอร์ไพรีฟอส (กลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต) ผ่านทางการรับสัมผัสทางผิวหนังของเกษตรกรผู้ปลูกพริกในตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย ได้ศึกษาในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนมกราคม 2553 เพื่อตรวจวัดปริมาณสารคลอร์ไพรีฟอสตกค้างบนมือทั้งสองข้าง ของเกษตรกรผู้ปลูกพริกหลังจากการพ่นสารกำจัดศัตรูพืช โดยใช้เกษตรกรจำนวน 35 คน (ชาย 26 คน และหญิง 9 คน) โดยเทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายจากเกษตรกรผู้ปลูกพริกทั้งหมดในตำบลหัวเรือ ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรในกลุ่มนี้มีอายุระหว่าง 40 ถึง 50 ปี น้ำหนักเฉลี่ยเท่ากับ 56.34 (±11.11) กิโลกรัม พื้นผิวมือทั้งสองข้างของเกษตรกรผู้ปลูกพริกชายเท่ากับ 0.088 ตารางเมตร และหญิงเท่ากับ 0.075 ตารางเมตร ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของสารคลอร์ไพรีฟอสตกค้างบนผิวมือของเกษตรกรมีค่าเท่ากับ 6.95±18.24 มก./กก. (0.01-98.59 มก./กก.) ในการศึกษาครั้งนี้ได้ประเมินค่าการรับสัมผัสสูงสุดของเกษตรกรที่ระดับ 95 เปอร์เซนไทล์ เพื่อการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร จากการได้สัมผัสสารคลอร์ไพรีฟอสในปริมาณสูงสุดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จากการคำนวณค่าการรับสัมผัสสารต่อวันของเกษตรกรพบว่า ค่าการรับสัมผัสสารคลอร์ไพรี ฟอสของเกษตรกรทั้งหมดเท่ากับ 2.51 x 10[superscript -9] มก./กก./วัน โดยกลุ่มเกษตรกรชายมีการรับสัมผัสต่อวันเท่ากับ 2.57 x 10[superscript -9] มก./กก./วัน มากกว่าเกษตรกรหญิง (2.41 x 10[superscript-9 ] มก./กก./วัน และทำการระบุความเสี่ยงโดยใช้ค่าดัชนีบ่งชี้อันตราย (Hazard quotient, HQ) พบว่า กลุ่มเกษตรกรดังกล่าว อาจจะไม่ได้รับความเสี่ยงจากการรับสัมผัสสารคลอร์ไพรีฟอสทางการรับสัมผัสทางผิวหนัง เนื่องจากค่าดัชนีบ่งชี้อันตรายของเกษตรกรทั้งหมดเท่ากับ 1.67 x 10[superscript -6] (กลุ่มเกษตรกรชาย 1.71 x 10[superscript -6] และกลุ่มเกษตรกรหญิง 1.61 x 10[superscript -6]) ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่าที่ยอมรับได้ (HQ < 1) งานวิจัยนี้ได้เสนอแนะให้ทำการประเมินความเสี่ยงจากการได้รับสัมผัสสารคลอร์ไพรีฟอส ผ่านการรับสัมผัสทางการสูดดมและการบริโภค เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรได้ระบุว่า มีอาการเจ็บป่วยจากการรับสัมผัสสารในระยะเฉียบพลันและเรื้อรังหลังจากมีการฉีดพ่นคลอร์ไพรีฟอส.
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Systems Development
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15546
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2096
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.2096
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nutta_ta.pdf995.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.