Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorรัฐวุฒิ วงษ์วิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-15T10:41:34Z-
dc.date.available2011-08-15T10:41:34Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15692-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการดำเนินงานคลังพัสดุของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจตัวอย่าง ซึ่งวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานพัสดุ จากการศึกษาการดำเนินงานคลังพัสดุพบปัญหาได้แก่ 1. คลังพัสดุขาดระเบียบในการจัดเก็บ การจัดวางพัสดุรวมถึงการดูแลรักษาอย่างเป็นระบบ 2. กระบวนการรับและจัดเก็บ กระบวนการเบิกจ่ายพัสดุ และกระบวนการตรวจนับพัสดุเป็นไปอย่างล่าช้าและมีข้อผิดพลาด ซึ่งขั้นตอนการปรับปรุงเริ่มจาก กิจกรรม 5ส จากนั้นจึงทำการแบ่งกลุ่มความสำคัญของพัสดุโดยพิจารณาจากหลายปัจจัย การกำหนดปริมาณจัดเก็บสูงสุดและต่ำสุดของพัสดุ การออกแบบผังการจัดเก็บ การกำหนดตำแหน่งจัดเก็บและรหัสแสดงตำแหน่งจัดเก็บและการพัฒนาโปรแกรมเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังพัสดุเฉพาะงานเบิกจ่าย ซึ่งผลที่จะได้จากงานวิจัยคือ การจัดเก็บมีการจัดวางพัสดุเป็นหมวดหมู่ เป็นระเบียบเรียบร้อย เพิ่มความสะดวกในงานเบิกจ่ายและช่วยลดเวลาในการดำเนินการนำพัสดุเข้า-ออกจากคลัง ข้อมูลงานคลังมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นแนวทางให้คลังพัสดุอื่นๆที่มีลักษณะเดียวกัน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้ ผลการปรับปรุงทำให้เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานคลังพัสดุดังต่อไปนี้ 1. อัตราส่วนในการทำใบหยิบของได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น 1.40 % 2. อัตราส่วนการหยิบพัสดุได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น 1.31 % 3. เวลาเฉลี่ยของกระบวนการรับและจัดเก็บพัสดุลดลง 4.03 % 4. เวลาเฉลี่ยของกระบวนการเบิกจ่ายพัสดุลดลง 37.95 % 5. เวลาเฉลี่ยของกระบวนการตรวจนับพัสดุคงคลังลดลง 40.93%en
dc.description.abstractalternativeThe thesis study of warehousing operations of the state enterprise. The objective of thesis is improvement efficiency of warehousing operations. Problem found due to study ware 1.The warehouse is not have systematic method of storage and arrangement 2. Receiving and storage ,order picking and checking takes longtime and has errors. Which procedure of improvement initial using 5s, grouping inventories by multi criteria, specification quantity maximum and minimum of storage, Design storage layout , location assignment and coding and development programming for increase efficiency warehousing operations. The research results are the storage location in order to arrange the goods in orderly is more convenient for order picking, time reduction in procedure of storage and order picking, the information is more accuracy. These improvement can be the guideline for the other warehouse. The result of improving efficiency of warehousing operations are 1. Accuracy of order picking document 1.40 % increasing. 2. Accuracy of picking 1.31 % increasing. 3. Average time of receive and storage 4.03 % reducing. 4. Average time of order picking 37.95 % reducing. 5. Average time of inventory checking 40.93% reducing.en
dc.format.extent3126687 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1300-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคลังพัสดุen
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานคลังพัสดุ : กรณีศึกษา หน่วยงานรัฐวิสาหกิจen
dc.title.alternativeAn efficiency improvement of warehouse operation : case study of the state enterpriseen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1300-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattawut_Vo.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.