Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสุรเทพ เขียวหอม-
dc.contributor.authorพิชญา คุณวุฒิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-20T03:24:55Z-
dc.date.available2011-08-20T03:24:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ใช้การประเมินวัฏจักรชีวิตในการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ของกระบวนการผลิตไวนิลคลอไรด์ด้วยกระบวนการที่แตกต่างกัน 4 กรณีศึกษา คือค่าการเปลี่ยนแปลง 55% เป็นกรณี A ค่าการเปลี่ยนแปลง 59% เป็นกรณี B ค่าการเปลี่ยนแปลง 63% เป็นกรณี C และค่าการเปลี่ยนแปลง 77% เป็นกรณี D ประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยโปรแกรมสำเร็จรูป SimaPro ด้วยวิธี Impact 2002+ พร้อมทั้งประเมินวัฏจักรชีวิตภายใต้ความไม่แน่นอนของข้อมูลและสภาวะการดำเนินการ จากผลการศึกษาพบว่าทั้ง 4 กรณีศึกษามีผลกระทบสูงสุดในด้านการใช้พลังงานที่ไม่สามารถทดแทนได้ (non–renewable energy) โดยกรณี A ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด และกรณี D ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาภายใต้ความไม่แน่นอนกรณี A ส่งผลกระทบมากกว่าทุกกรณีที่ระดับความเชื่อมั่น 100% กรณี B ส่งผลกระทบมากกว่า กรณี C และกรณี D ที่ระดับความเชื่อมั่น 77.2% และ 100% ตามลำดับ ส่วนกรณี C ส่งผลกระทบมากกว่ากรณี D ที่ระดับความเชื่อมั่น 100% เมื่อปรับปรุงด้วยหลักการโครงข่ายเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ผลกระทบจะลดลงประมาณ 100% สำหรับกรณี A กรณี B และกรณี C ส่วนกรณี D ผลกระทบลดลงประมาณ 200%en
dc.description.abstractalternativeThis research uses life cycle assessment (LCA) to assess environmental impacts of four different cases of vinyl chloride production processes. We consider four cases including 1) case A with 55% conversion, 2) case B with 59% conversion, 3) case C with 63% conversion, and 4) case D with 77% conversion. SimaPro with Impact 2002+ method are used to evaluate and assess environmental impacts. Moreover, life cycle assessment under the uncertainty of data and operating condition is performed. The results show that all cases have the maximum impact on non-renewable energy. Case A has the maximum environmental impacts, while case D has the lowest impacts. With uncertainty consideration, it was found that case A has environmental impacts higher than those of other cases at 100% confidence level. Case B has environmental impacts higher than those of case C and D 77.2 and 100% confidence level, respectively. Case C has environmental impacts higher than that of case D at 100% confidence level. The process improvement using the heat exchanger network results in the reduction of environmental impacts about 100% for case A, B, and C, and about 200% for case D.en
dc.format.extent1533365 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1380-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไวนิลคลอไรด์en
dc.subjectวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์en
dc.subjectการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมen
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตไวนิลคลอไรด์โดยเครื่องมือการประเมินวัฏจักรชีวิตภายใต้ความไม่แน่นอนen
dc.title.alternativeDevelopment of vinyl chloride production process by life cycle assessment tool under uncertaintyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChairit.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorsoorathep.k@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1380-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phitchaya_kh.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.