Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15762
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปวีณา เชาวลิตวงศ์ | - |
dc.contributor.author | รุ่งนภา ฟองทา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2011-08-23T11:36:56Z | - |
dc.date.available | 2011-08-23T11:36:56Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15762 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | ในการจัดลำดับการผลิตของโรงงานกรณีศึกษา มีความจำเป็นต้องสอดคล้องกับเงื่อนไขของรอบการขนส่งทางเรือและเงื่อนไขของกระบวนการผลิต นอกจากนี้จำนวนคำสั่งผลิตที่ต้องจัดลำดับการผลิตมีจำนวนมาก อีกทั้งการจัดลำดับการผลิตยังพึ่งพิงพนักงานเป็นหลัก จึงทำให้การจัดลำดับการผลิตไม่สามารถสอดคล้องกับทุกเงื่อนไขที่เป็นข้อจำกัด โดยเฉพาะเงื่อนไขของรอบการขนส่งทางเรือ จึงส่งผลให้เกิดปัญหามีจำนวนรถยนต์ที่ส่งไม่ทันตามแผน (รอบของสายเรือ) สะสมในแต่ละเดือนเป็นจำนวนมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงวิธีการจัดลำดับการผลิตในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขต่างๆ การดำเนินงานวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนการพัฒนาตรรกะที่ใช้ในการจัดลำดับการผลิตที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่างๆ และส่วนการพัฒนาโปรแกรมสำหรับผู้ใช้ ตรรกะที่ออกแบบจะเริ่มจากการจัดกลุ่มข้อมูลตามรอบการขนส่งทางเรือก่อน และจะจัดลำดับการผลิตภายในรอบการขนส่งตามเงื่อนไขของกระบวนการผลิต ต่อจากนั้นได้พัฒนาโปรแกรมช่วยในการจัดลำดับการผลิต โดยใช้โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 ร่วมกับการจัดฐานข้อมูลของ Microsoft Access และในการเปรียบเทียบผลของโปรแกรมนั้น จะใช้จำนวนรถยนต์ที่ส่งไม่ทันรอบสายเรือสะสมในแต่ละเดือนเป็นตัวชี้วัด การทดสอบได้ใช้ข้อมูลการผลิตในเดือน กันยายน-พฤศจิกายน 2551 ผลการวิจัยพบว่า จำนวนรถยนต์ที่ส่งไม่ทันรอบสายเรือสะสมในแต่ละเดือนลดลงโดยเฉลี่ย 1,342 คันต่อเดือน หรือคิดเป็น 34.7% และยังสามารถช่วยลดระยะเวลาในการทำงานลงได้ | en |
dc.description.abstractalternative | The job sequencing of this case study has to be consistent with the shipping schedule and the manufacturing conditions. The current job sequencing process is manually managed by an operator. In addition, the production batch is usually large. Therefore, it can lead to the delay of the product (vehicle) delivery by missing the shipping schedule. The objective of this research is to improve the vehicle production sequencing to enable product shipment in time and anticipating each shipment slot more effective. This developed system consists of two parts: logical design of job sequencing according to the conditions, and computer program. The logic of job sequencing starts by grouping jobs based on their shipping scheduling then sequencing the job according to the manufacturing conditions. For the computer program, it is developed by Microsoft Visual Basic 2008 for the system and Microsoft Access for its database. This program can give appropriate job sequence and the amount of vehicle exceeds the shipment slot monthly. This developed system has been evaluated by using the past data from September to November 2008 to show the delayed shipment vehicles from its production. The result shows that the delayed vehicle amount can be reduced by 1,342 units/month, or 34.7%. In addition, it also helps to improve the production sequencing more efficiently. | en |
dc.format.extent | 1901133 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.826 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การวางแผนการผลิต | en |
dc.subject | กำลังการผลิต | en |
dc.subject | การจัดสมดุลสายการผลิต | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถยนต์ | en |
dc.title | การปรับปรุงการจัดลำดับการผลิตในสายงานประกอบรถยนต์ | en |
dc.title.alternative | Production sequencing process improvement in automotive assembly line | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | paveena.c@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.826 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rungnapa_Fo.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.