Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิติ บวรรัตนารักษ์-
dc.contributor.authorรัฐ มโนธัม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-20T03:50:42Z-
dc.date.available2011-09-20T03:50:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการปรับแต่งเครื่องอ่านอิมเมจเพลตโดยวิธีการเทียบมาตรฐานโดยใช้กริด สำหรับใช้ในการทดลองเพื่อหาโครงสร้างของผลึกผงภายใต้ความดันบรรยากาศ เพื่อพัฒนาไปใช้ในการศึกษาโครงสร้างของผลึกผงในภาวะความดันสูง ด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ชนิดกระจายมุม โดยทำการทดลองที่สถาบันวิจัยแสงซิงโครตรอนแห่งชาติ ใช้คลื่นรังสีเอกซ์ที่มีค่าความยาวคลื่น 1.377 และใช้ ZnO เป็นสารตัวอย่างเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของวิธีการปรับแต่งเครื่องอ่านอิมเมจเพลต โดยนำข้อมูลจากการทดลองของสารมาตรฐาน Al[subscript 2]O[subscript 3] มาทำการแปลงหน่วยวัด เพื่อแปลงข้อมูลจากค่าความเข้มกับระยะทางให้เป็นค่าความเข้มกับมุม 2θ สำหรับนำไปใช้ศึกษาโครงสร้างและหาค่าแลตทิซ พารามิเตอร์ ของสารตัวอย่าง ZnO ผลการทดลองด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพของวิธีการปรับแต่งเครื่องอ่านอิมเมจเพลต พบว่า ZnO มีโครงสร้างแบบ Hexagonal โดยมีค่าแลตทิซ พารามิเตอร์ เป็น a = b = 3.2581(8) และ c = 5.220(3) โดยค่าแลตทิซ พารามิเตอร์มีค่าแตกต่างจากข้อมูลที่ได้จากการทดลองของ Kisi E. H. และ Elcombe ซึ่งได้จากฐานข้อมูลของผลึกมาตรฐานน้อยมาก จึงทำให้สรุปได้ว่าการปรับแต่งเครื่องอ่านอิมเมจเพลตโดยวิธีการเทียบมาตรฐานโดยใช้กริด สามารถนำไปใช้ศึกษาโครงสร้างของผลึกผง และสามารถนำไปพัฒนาเพื่อนำไปใช้ในการศึกษาโครงสร้างของผลึกผงภายใต้ความดันสูงได้ โดยค่ามุมของยอดที่นำมาใช้ในการหาโครงสร้างซึ่งตรงตามกฎของแบรกก์ต้องมีค่าไม่เกินมุมสูงสุดที่สารมาตรฐานมีแถบการเลี้ยวเบนen
dc.description.abstractalternativeGrid calibration method for conventional Image-Plate have been used for structure determination of powder sample. This techniques have been developed for sample under high-pressure condition. The angle dispersive X-rays powder diffraction techniques were performed at Siam Photon source with X-rays wavelength 1.377 . ZnO is used to verify the quality of grid calibration method.The Al2O3 is standard sample used for data conversion from Intensity vs. Distance into Intensity vs. 2 in order to determine the crystal structure and lattice parameter of ZnO. Results of X-rays diffraction show that structure of ZnO is Hexagonal with lattice parameters a = b = 3.2581(8) and c = 5.220(3) .The difference in lattice parameters compare with crystal database that was performed by Kisi E. H and Elcombe is very low. Therefore, the grid calibration method has been shown to be the powerful techniques to determine lattice parameters of unknown sample.en
dc.format.extent5070795 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.532-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรังสีเอกซ์ -- การเลี้ยวเบนen
dc.titleการปรับแต่งตัวตรวจจับพื้นที่อิเมจเพลตแบบธรรมดาเพื่อการศึกษาการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์แบบสองมิติจากผลึกผงen
dc.title.alternativeConventional image-plate area detector calibration for two dimensional X-Rays powder diffractionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineฟิสิกส์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.532-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rut_ma.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.