Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15991
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ | - |
dc.contributor.advisor | สุรเทพ เขียวหอม | - |
dc.contributor.author | ชลธิดา สิลสมบัติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2011-09-25T13:53:01Z | - |
dc.date.available | 2011-09-25T13:53:01Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15991 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ทำศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการผลิตสไตรีนด้วยกระบวน การดีไฮโดรจีเนชันเอทิลเบนซีนร่วมกับไอน้ำและกระบวนการดีไฮโดรจีเนชันเอทิลเบนซีนร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้หลักการประเมินวัฏจักรชีวิต ซึ่งจะพิจารณาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SimaPro 6.0 ด้วยวิธี Eco-Indicator 99 ในการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการดีไฮ โดรจีเนชันของเอทิลเบนซีนร่วมกับการใช้ไอน้ำจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงกว่ากระบวน การดีไฮโดรจีเนชันของเอทิลเบนซีนร่วมกับการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ในขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบ การปลดปล่อยของเสีย และขั้นตอนการผลิตสไตรีน ประมาณ 1.44 เท่า 5.34 เท่า และ 1.44 เท่า ตามลำดับ เมื่อจำแนกประเภทผลกระทบออกเป็น 3 กลุ่มผลกระทบได้แก่ ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ และผลกระทบต่อการลดลงของทรัพยากร พบว่าทั้งสองกระบวนการส่งผลกระทบสูงสุดคือ ผลกระทบต่อการลดลงของทรัพยากร และน้อยที่สุดคือ ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ เมื่อมีการพิจารณาภายใต้ความไม่แน่นอนที่ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลกระทบของกระบวนการดีไฮโดรจีเนชันเอทิลเบนซีนร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ยังมีแนวโน้มเช่นเดิม จากนั้นจึงทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตทั้งสองกระบวนการด้วยหลักการออกแบบโครงข่ายแลกเครื่องเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger Network: HEN) พบว่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการดีไฮโดรจีเนชันของเอทิลเบนซีนร่วมกับการใช้ไอน้ำลดลงประมาณ 0.7 เท่า และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการดีไฮโดรจีเนชันของเอทิลเบนซีนร่วมกับการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ลดลงประมาณ 0.88 เท่า | en |
dc.description.abstractalternative | In this work, life cycle assessment (LCA) is used to assess the environmental impacts of styrene production processes using Ethyl-benzene dehydrogenation with steam route and Ethyl-benzene dehydrogenation with Carbon dioxide route. The assessment is performed in a cradle to gate approach by using SimaPro 6.0 with Eco-indicator 99. The results showed that Ethyl-benzene dehydrogenation with steam route has 1.44, 5.34 and 1.44 times higher environmental impacts than Ethyl-benzene dehydrogenation with Carbon dioxide route in the production of raw material, waste discharging and styrene production phases, respectively. All impacts are classified into three categories including resource depletion, human health and ecosystem. In both cases, it was found that the impact on resource depletion is the highest. Where, the lowest impact is on ecosystem. Under uncertainty consideration, Ethyl-benzene dehydrogenation with Carbon dioxide route leads to the same trend with 95% confidence interval. We improve both processes by using heat exchanger network. It was found that the environmental impacts of Ethyl-benzene dehydrogenation with steam route decrease about 0.7 times. In comparison, 0.88 times decrease is obtained in case of Ethyl-benzene dehydrogenation with Carbon dioxide route. | en |
dc.format.extent | 25065628 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1313 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สไตรีน | en |
dc.subject | ดีไฮโดรจีเนชัน | en |
dc.title | การพัฒนากระบวนการผลิตสไตรีนโดยเครื่องมือการประเมินวัฏจักรชีวิตภายใต้ความไม่แน่นอน | en |
dc.title.alternative | Development of styrene production process by life cycle assessment tool under uncertainty | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Chairit.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | soorathep.k@eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1313 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chontida_si.pdf | 24.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.