Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorกรกช จันทร์โสภาพิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-10-20T14:55:55Z-
dc.date.available2011-10-20T14:55:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการแตกตัวเชิงเร่งปฏิกิริยาของไขวัวบนเหล็ก/ถ่านกัมมันต์เพื่อศึกษาอิทธิพลตัวแปรต่างๆที่ส่งผลต่อร้อยละผลได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันและองค์ประกอบที่ดีที่สุด โดยใช้การทดลองแบบแฟกทอเรียลสองระดับศึกษาในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็กแบบแบตช์อิทธิพลของตัวแปรที่มีต่อร้อยละผลได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันและสัดส่วนของแนฟทาที่เหมาะสม ตัว แปรที่ศึกษาประกอบด้วย อุณหภูมิ 400-430 องศาเซลเซียส ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา 30-90 นาที ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์ 0.25-1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และ ความดันไฮโดรเจนเริ่มต้น 1-5 บาร์ จากการทดลองพบว่า อุณหภูมิและระยะเวลาในการทำปฎิกิริยา มีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อร้อยละผลได้ของผลิตภัณฑ์น้ำมัน และเมื่อทำการวิเคราะห์ โดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟจำลองการกลั่น พบว่าตัวแปรที่ส่งผลต่อสัดส่วนของแนฟทาคือ อุณหภูมิ ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา อันตรกิริยาระหว่างอุณหภูมิกับระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา และ อันตรกิริยาระหว่างอุณหภูมิกับความดันไฮโดรเจนเริ่มต้น ภาวะที่เหมาะสมของการทดลองคือ อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา 69.51 นาที ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์ 0.75 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และความไฮโดรเจนเริ่มต้น 1 บาร์ โดยให้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 68.14 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก องค์ประกอบของ ผลิตภัณฑ์น้ำมัน ที่ได้มีปริมาณสัดส่วนของแนฟทา เคโรซีน และ ดีเซล 33.68 9.22 และ 21.00 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ค่าร้อยละการเปลี่ยน 95.29 โดยน้ำหนักen
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this research was aimed to study the catalytic cracking of beef tallow on Fe/Activate carbon into liquid fuels. The two level factorial experimental design was used to study the effect of operating conditions over yield of hydrocarbon fuel where performed in a batch microreactor at temperature of 400-450 oC, time of reaction of 30-90 minutes, Fe/Activate carbon 0.25-1 wt%, and initial hydrogen pressure of 1-5 bar. From the results, it was found that temperature and residence time were significantly affected to liquid fuels. The analyzed liquid fuels from Gas Chromatography (GC Simulated Distillation) was found that temperature, residence time, interaction between temperature and residence time, and interaction between temperature and initial hydrogen pressure were significantly affected to naphtha fraction. The optimum values of reaction temperature of 400 oC, Fe/Activate carbon 0.75 wt%, time of reaction of 69.51 minutes, and initial hydrogen pressure 1 bar were obtained for maximum yield of liquid fuels 68.14 wt%, naphtha fraction 33.68 wt%, kerosene fraction 9.22 wt%, diesel fraction 21 wt% and conversion with liquid fuels 95.29 wt%.en
dc.format.extent7590864 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.418-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen
dc.subjectการแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาen
dc.subjectกรดไขมันen
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en
dc.subjectเหล็กen
dc.titleการแตกตัวเชิงเร่งปฏิกิริยาของไขวัวบนเหล็ก/ถ่านกัมมันต์en
dc.title.alternativeCatalytic cracking of beef tallow on Fe/activated carbonen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.418-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
korrakot_ch.pdf7.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.