Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุล-
dc.contributor.authorณัฐพล พุฒยางกูร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-10-22T14:25:05Z-
dc.date.available2011-10-22T14:25:05Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16157-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการออกแบบและพัฒนากระบวนการวัดสัดส่วนร่างกายมนุษย์แบบมิติเส้นตรง ในแนวแกน 2 มิติจากภาพถ่ายดิจิตอล โดยมีระยะอ้างอิงในภาพเทียบกับระยะอ้างอิงจริง ซึ่งกระบวนการในการหาขนาดถูกแบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ หาขนาดสัดส่วนที่กว้างที่สุดและสูงที่สุดโดยใช้ขอบในภาพ และหาขนาดสัดส่วนที่สนใจโดยหาระยะห่างระหว่างพิกัด 2 จุด การศึกษาเบื้องต้นจากหุ่นทดลองพบว่า เงื่อนไขการติดตั้งอุปกรณ์ที่ให้ความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด คือ ระยะห่างระหว่างกล้องกับวัตถุที่ 7 เมตร และขนาดของภาพถ่ายที่มีความละเอียดมากกว่าเท่ากับ 6 ล้านพิกเซล จากการนำไปใช้งานจริง และทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างโปรแกรม และเทคนิคนี้ กับการใช้อุปกรณ์วัดสัดส่วนร่างกายมนุษย์ พบว่าสามารถวัดได้ในทุกสัดส่วน โดยจะมีสัดส่วนที่แม่นยำที่สุดในสัดส่วนความสูง, ความสูงระดับสายตาขณะยืน,ระยะกางแขน, ระยะกางศอก, ความสูงของระยะเอื้อมแขนขึ้นเหนือศีรษะในท่านั่ง, ความสูงระดับไหล่ขณะยืน, ความสูงสะโพก, ความสูงระดับนิ้วมือ, ความสูงระดับข้อศอกขณะนั่ง, ความหนาของต้นขา, ความสูงของเข่าขณะนั่ง, ความกว้างไหล่อ้างอิงปุ่มหัวไหล่, ความกว้างสะโพก และความหนาช่องท้อง ซึ่งสัดส่วนอื่นๆ นอกเหนือไปจากที่ได้กล่าวไปนั้นสามารถนำไปใช้งานจริงได้เช่นเดียวกันen
dc.description.abstractalternativeThe objectives are design and develop a 2D linear dimension anthropometry using a digital image. Dimensions are estimated via comparison of the real reference distance (centimeters) and a reference distance in an image (pixels). This approach provides two measurement tools: an end-to-end distance of a subject using edge detection and a two desired points distance. According to the studies with a model, a camera with the resolution of 6 Megapixels or more which be placed in front of the subject about 7 meters provides the smallest of dimensions’ errors. From the result of hypothesis testing of differences between this introduced approach and traditional anthropometry, All standard postures are able to be measured properly. Dimensions that have the minimum errors are stature, eye height, span, elbow span, vertical grip reach (sitting), shoulder height, hip height, fingertip height, sitting elbow height, thigh thickness, knee height, shoulder breadth (biacromial), hip breadth and abdominal depth. Otherwise is also acceptable while its error is slightly greater.en
dc.format.extent2556002 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1410-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectร่างกายen
dc.subjectมานุษยมิติen
dc.titleการวัดสัดส่วนร่างกายมนุษย์โดยโปรแกรมประยุกต์การหาขอบวัตถุจากภาพดิจิตอลแบบ 2 มิติen
dc.title.alternativeAn anthropometry by 2D EDGE detection programen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorphairoat@hotmial.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1410-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nathapon_pu.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.