Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ ชัยวัฒน์-
dc.contributor.authorกรองทอง ออมสิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-01T15:09:32Z-
dc.date.available2011-12-01T15:09:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16251-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 61 คน จาก 2 โรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยนักเรียน 31 คนจากโรงเรียนหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และนักเรียน 30 คน จากอีกโรงเรียนหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการจัดการกับความเครียด กิจกรรมประกอบด้วยการอภิปรายกลุ่มย่อยและการทดลองปฏิบัติจริง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวัดพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดในเด็กวัยรุ่นตอนต้นก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดของวัยรุ่นตอนต้นที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Dependent t – test และ Independent t – test ผลการวิจัยพบว่า 1. วัยรุ่นตอนต้นที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดหลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง ดีกว่าก่อนการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. วัยรุ่นตอนต้นที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดภายหลังการทดลองดีกว่าวัยรุ่นตอนต้นที่ได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of perceived self-efficacy promoting program on stress management behaviors of early adolescents. Subjects were composed of 61 seventh-grade students from two schools in Surattani Province, 31 students from one school were assigned to the experimental group and 30 students from the other were assigned to the control group. The experimental group received the perceived self-efficacy promoting program. Activities consisted of a small group discussion, and experimental and application. The stress management behaviors of students were measured twice, before and after receiving the program, by the stress management behaviors questionnaire developed by researcher. Data were analyzed by dependent t – test and Independent t - test. The results were follows: 1. Stress management behaviors scores of early adolescents after receiving the perceived self-efficacy promoting program was significantly higher than those before receiving the program, at the level of .05 2. Stress management behaviors scores of early adolescents after receiving the perceived self-efficacy promoting program was significantly higher than those of the students receiving routine stress management promotion, at the level of .05.en
dc.format.extent2776264 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1392-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเครียดในวัยรุ่นen
dc.subjectการบริหารความเครียดen
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดของวัยรุ่นตอนต้นen
dc.title.alternativeThe effect of perceived self-efeficacy promoting program on stress management behaviors of early adolescentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWaraporn.Ch@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1392-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krongthong.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.