Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ-
dc.contributor.authorสุจิรา อรุณพิพัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2011-12-14T04:27:21Z-
dc.date.available2011-12-14T04:27:21Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16369-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเมื่อประเทศไทยก้าวเข้าสู่ระบบทุนนิยมเต็มขั้นแล้ว อิทธิพลของทุนนิยมที่สามารถเปลี่ยนแปลงทุกอย่างให้กลายเป็นสินค้าได้ส่งผลกระทบต่อความงามของผู้หญิงอย่างไรผ่านกรณีศึกษาการประกวดนางสาวไทย โดยมีความมุ่งหวังในการนำเสนอมุมมองใหม่ให้กับการประกวดนางสาวไทยที่ไม่ใช่การประกวดประชันหาสาวงาม หากแต่เป็นกระบวนการผลิตสินค้าอีกรูปแบบหนึ่ง ผ่านการรวบรวบข้อมูลเอกสารทั้งชั้นต้นและชั้นรอง รวมถึงการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่าพัฒนาการทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของไทยร่วมกับมิติทางสตรีนิยม ส่งผลกระทบต่อรูปแบบการประกวดนางสาวไทย ตั้งแต่ในยุคแรกของการจัดประกวด โดยยุคที่ 1 (พ.ศ. 2477 – 2483 และพ.ศ. 2491-2497) ถึง ยุคที่2 (พ.ศ. 2507-2515) จากความต้องการผลประโยชน์ทางการเมืองยุคทุนนิยมขุนนาง รูปแบบการประกวดจึงดำเนินการไปเพื่อประชาสัมพันธ์นโยบายรัฐบาลและประเทศเป็นหลัก ต่อมาในยุคทุนนิยมขยายตัวการประกวดในช่วงยุคที่ 3 (พ.ศ. 2527-2542) และ ยุคที่4 (พ.ศ. 2543 - 2550) จัดขึ้นเพื่อผลประโยชน์เชิงพาณิชย์เป็นสำคัญ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณารายละเอียดในยุคทุนนิยมขยายตัว เกี่ยวกับกระบวนการกลายเป็นสินค้า ผู้จัดการประกวด สปอนเซอร์ และผู้ดำรงตำแหน่งนางสาวไทย ทั้งในช่วงก่อนการจัดประกวด ช่วงระหว่างการจัดประกวด และเมื่อการประกวดสิ้นสุดลง พบว่า มีวัตถุประสงค์เพื่อผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ขององค์กรตนมากกว่าส่วนรวมโดยกลุ่มนายทุนจะได้รับค่าลิขสิทธิ์ ช่วงเวลาการโฆษณา และภาพลักษณ์อันดีต่อสินค้า ในขณะที่ ตัวนางงามเองก็ได้รับเงินรางวัล ค่าจ้าง และชื่อเสียงโอกาสทางอาชีพต่อไป ซึ่งประโยชน์ที่ได้รับดังกล่าวต่างจากยุคที่ 1 - 2 ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับเพียงความภาคภูมิใจที่ได้ “ช่วยชาติ” เท่านั้น จากพัฒนาการข้างต้น แสดงถึงกระบวนการผลิตในสังคมทุนนิยม ความงามมีมูลค่าแลกเปลี่ยนได้ และมูลค่าเกิดจากการชักนำความต้องการของกลุ่มนายทุนเป็นสำคัญ ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าการประกวดนางสาวไทยเป็นกระบวนการที่ทำให้ความงามกลายเป็นสินค้าได้อย่างเป็นรูปธรรมen
dc.description.abstractalternativeThis study strongly intends to demonstrate that Thailand’s development has entered into the stage of Capitalism. At this stage, the influence of Capitalism has been claimed that its power can transform every single thing into a price-able and sellable form or being called “commodity - like form” such as ladies’ beauty. Therefore, the aim for studying the Miss Thailand Contest will not only reveal the effects of Capitalism on the beauty contest but also clearly illustrate the commoditization of ladies’ beauty. The research methodology consists of collecting and analyzing the primary and secondary data including in - depth interview. The result of this study shows that before Thailand reached the Capitalism stage, the power of Capitalism did not effect on the Miss Thailand Contest significantly. We can see that in the 1[superscript st] era (B.E. 2477-2483 and 2491-2497) and 2[superscript nd] era (B.E. 2507-2515) of this contest, it had been mainly initiated with the express purpose of disseminating the government policies and publicizing “Thailand” internationally. Thus, during this time, the contest was not clearly perceived as a commoditization and more importantly, ladies’ beauty was not intentionally produced in a commodity - like form. In contrast, after Thailand had step into the era of Capitalism expansion, the Miss Thailand Contest in the 3[superscript rd] era (B.E. 2527-2542) and 4[superscript th] era (B.E. 2543-2550) were firmly established for the commercial interests. Therefore, the commoditization fully operates and ladies’ beauty becomes a commodity. According to the effect of Capitalism on the Miss Thailand Contest, this paper can illustrate the commoditization development of fictitious commodity, like ladies’ beauty, through this beauty contest. Moreover, the power of Capitalism can change the social perception that people have of Miss Thailand from being opposed to be supportive.en
dc.format.extent3672733 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.155-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประกวดความงามen
dc.subjectเศรษฐศาสตร์การเมืองen
dc.subjectสตรีนิยม -- ไทยen
dc.titleเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการผลิตนางงาม : กรณีศึกษาการประกวดนางสาวไทยen
dc.title.alternativeThe political economy of the beauty contest : case study of Miss Thailand Contesten
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNarong.Pe@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.155-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujira_Ar.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.