Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16382
Title: | Effects of bulk and surface defects of TiO[subscript 2] support on the physico-chemical properties of Co/TiO[subscript 2] catalyst VIA methanation |
Other Titles: | ผลของความบกพร่องภายในและพื้นผิวของตัวรองรับไทเทเนียที่มีต่อคุณลักษณะและสมบัติการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนตัวรองรับไทเทเนียด้วยปฏิกิริยาเมทาเนชัน |
Authors: | Supawan Supawanitchmongkol |
Advisors: | Bunjerd Jongsomjit |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Bunjerd.J@chula.ac.th |
Subjects: | Titanium dioxide Methanation Cobalt catalysts |
Issue Date: | 2007 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In this work, the effects of bulk and surface defects on TiO[subscript 2] upports prepared by the sol-gel method were investigated over Co/TiO[subscript 2] catalyst. The 20%wt of cobalt were impregnated onto TiO[subscript 2] having different amounts of bulk and surface defects, which were prepared from the sol-gel method by controlling the water: alkoxide molar ratios during sol-gel synthesis. The Co/TiO[subscript 2] catalysts were characterized with different techniques including XRD, N[subscript 2]-physisorption, SEM, TEM, H[subscript 2]-chemisorption, temperature-programmed reduction (TPR). It showed that the optimum amount of bulk and surface defects can result in high total H[subscript 2] chemisorption, high reducibility, low reduction temperature, and consequently high conversion for methanation of the Co/TiO[subscript 2] catalyst. This was attributed to changes in the SMSI property superimposed with the interaction between cobalt and TiO[subscript 2] support caused by impregnate cobalt onto different bulk and surface defects on TiO[subscript 2]. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาถึงผลของความบกพร่องภายในผลึกและความบกพร่องบนพื้นผิวของผลึกบนตัวรองรับไทเทเนียซึ่งเตรียมโดยวิธีโซลเจลที่มีต่อตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ ด้วยวิธีฝังเคลือบ โคบอลต์ลงบนตัวรองรับไทเทเนียซึ่งมีความบกพร่องภายในผลึกและบนความบกพร่องบนพื้นผิวผลึกต่างๆกัน โดยการเตรียมตัวรองรับไทเทเนียนั้นเตรียมจากงานก่อนหน้านี้ที่ผ่านมา จากนั้นนำตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนตัวรองรับไทเทเนียไปตรวจสอบคุณลักษณะโดยใช้การดูดซับทางกายภาพด้วยไนโตรเจน การกระเจิงรังสีเอ็กซ์ การส่องผ่านด้วยกล้องจุลทรรศ์อิเล็กตรอน การรีดักชันแบบโปรแกรมอุณหภูมิและการดูดซับด้วยไฮโดรเจนและศึกษาในปฏิกิริยาเมทาเนชัน ซึ่งพบว่าจะมีปริมาณของทั้งความบกพร่องภายในและบนพื้นผิวของผลึกไทเทเนียดีที่สุดหรือสมดุลที่สุดที่จะส่งผลให้ค่าการดูดซับด้วยไฮโดรเจนสูงที่สุด อุณหภูมิที่ใช้ในการรีดักชันต่ำที่สุดหรือสามารถรีดิวซ์จากโคบอลต์ออกไซด์ให้กลายเป็นโคบอลต์ซีโร่ที่เป็นแอคทีฟไซด์ได้ง่าย และยังทำให้เปอร์เซ็นต์การเกิดมีเทนในปฏิกิริยามากที่สุด ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากการฝังเคลือบโคบอลต์ลงบนตัวรองรับไทเทเนียที่มีความบกพร่องภายในและความบกพร่องบนพื้นผิวผลึกที่ต่างกันซึ่งจะส่งผลให้มีคุณสมบัติเอสเอ็มเอสไอต่างกันออกไปโดยคุณสมบัตินี้จะส่งผลต่อตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ให้มีคุณลักษณะและความสามารถในการทำปฏิกิริยาต่างกันออกไป |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16382 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1456 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2007.1456 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supawan_Su.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.