Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไล วงศ์สืบชาติ-
dc.contributor.authorทรัพย์สตรี แสนทวีสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์-
dc.coverage.spatialชลบุรี-
dc.date.accessioned2011-12-19T04:54:46Z-
dc.date.available2011-12-19T04:54:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16385-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี และ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จังหวัดชลบุรี โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างจำนวน 504 ราย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้กรอกแบบสอบถามด้วยตนเอง ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีค่อนข้างเหมาะสม ผลการวิเคราะห์การถดถอยแบบง่ายพบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีทั้งสิ้น 8 ตัวแปร คือ เพศ ความรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี การรับรู้ความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานกับสารเคมี การรับรู้ความรุนแรงของอันตรายจากการปฏิบัติงานกับสารเคมี ความคาดหวังประโยชน์จากการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างปลอดภัย ความคาดหมายอุปสรรคของการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างปลอดภัย การรับสารด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีจากสื่อบุคคล และการรับสารด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีจากสื่อเฉพาะกิจ สำหรับผลการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุขั้นตอนพบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีทั้งสิ้น 7 ตัวแปรซึ่งร่วมกันอธิบายการแปรผันของพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีได้ร้อยละ 20.7 โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีมี 5 ตัวแปร คือ ความคาดหวังประโยชน์จากการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างปลอดภัย ความรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี การรับรู้ความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานกับสารเคมี การรับสารด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีจากสื่อเฉพาะกิจ และการรับรู้ความรุนแรงของอันตรายจากการปฏิบัติงานกับสารเคมี ในขณะที่ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางลบต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี คือ ความคาดหมายอุปสรรคของการปฏิบัติงานกับสารเคมีอย่างปลอดภัย และการศึกษา ข้อค้นพบนี้แสดงว่า ผู้วิจัยสามารถประยุกต์ใช้แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพของ Rosenstock ในการอธิบายพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัยสามารถนำข้อค้นพบจากการศึกษานี้เป็นแนวทางในการรณรงค์ด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to investigate chemical safety behavior at work and factors affecting safety behavior of workers in auto parts industry in Chonburi province. Data have been collected from 504 workers by self administered questionnaire. Chemical safety behavior at work of workers is fairly appropriate. Results from simple regression analysis indicates that variables affect chemical safety behavior at work at the 0.05 significance level are sex, knowledge of chemical safety at work, perception on risk of chemical danger at work, perception on seriousness of chemical danger at work, prevision of benefit from chemical safety at work, expectation of obstacles to chemical safety at work, exposure to human media on chemical safety at work, and exposure to specialized media on chemical safety at work. The result from stepwise regression analysis reveals that 7 variables affect chemical safety behavior at work at the 0.05 significance level and explain 20.7 percent of the variation of chemical safety behavior. Variables that are positively influence chemical safety behavior at work of workers include prevision of benefit from chemical safety at work, knowledge of chemical safety at work, perception on risk of chemical danger at work, exposure to specialized media on chemical safety at work, and perception on seriousness of chemical danger at work. Two variables which show negative influence are expectation of obstacles to chemical safety at work and education. The findings show that the health belief model developed by Rosenstock can be applied to explain chemical safety behavior at work. Safety providers may utilize the findings of this study to continually campaign safety at work.en
dc.format.extent2397570 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.490-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectสารเคมี -- มาตรการความปลอดภัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์en
dc.titleพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมีของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จังหวัดชลบุรีen
dc.title.alternativeChemical safety behavior at work among workers in auto parts industry in Chonburi Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwilai.w@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.490-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supsatree_Sa.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.