Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี ศิริโชติ-
dc.contributor.authorจักรพันธ์ ทองเอียด-
dc.date.accessioned2012-01-11T02:28:10Z-
dc.date.available2012-01-11T02:28:10Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746375466-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16487-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) การสร้างโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ 3) การทดลองใช้โปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ 4) การปรับปรุงโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ โรงเรียนวัดควนวิเศษ ปีการศึกษา 2539 สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดตรัง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ 3 ฉบับ และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินผลโปรแกรมคือ คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนหลังเรียนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวสูงกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน และนักเรียนร้อละ 80 มีความพึงพอใจต่อโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการวิจัยพบว่า 1.คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนหลังเรียนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสูงกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 2. นักเรียนทุกคนมีความพึงพอใจต่อโปรแกรม ในระดับปานกลางขึ้นไป นักเรียนร้อยละ 70 มีความพึงพอใจในระดับมาก และร้อยละ 16.67 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 นำมาปรับปรุงโปรแกรม และเสนอโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ ฉบับสมบูรณ์ไว้ใช้ต่อไป โปรแกรมดังกล่าวประกอบด้วย ชื่อโปรแกรม หลักการและเหตุผล เป้าหมาย จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ลักษณะโปรแกรม เนื้อหา วิธีสอน สื่อการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนการสอน และการประเมินผลโปรแกรมen
dc.description.abstractalternativeTo develop the program for enhancing mathematics problem solving ability; addition, subtraction, multiplication and division by using SQRQCQ strategy for prathom suksa four students with low mathematics learning achievement. This study had four stages. They were : 1) to study baseline data ; 2) to develop the program for enhancing mathematics problem solving ability ; 3) to try out the program ; 4) to improve the program. Subjects were 30 prathom suksa four students with low mathematics learning achievement, in the academic year 1996, Watkhuanviset School under the jurisdiction of Trang Province Primary Education. The research instruments consisted of three mathematics problem solving ability tests and the satisfaction inventory. The criterion for program evaluation consisted of the post-test arithemetic mean score of the mathematics problem solving ability was higher than the pre-test at 50 percent and 80 percent of students were satisfied with the program higher than the moderate level. The findings were as follows : 1. The post-test arithmetic mean score of the mathematics problem solving ability of the students was higher than the stipulated criterion score at the .05 level of significance. 2. All students were satisfied with the program higher than the moderate level. Of those students who use the program, 70 percent were satisfied at high level, and 16.67 percent were satisfied at highest level. Data from the third stages of the study were used for the improvement of the program, and the program for enhancing mathematics problem solving ability by using SQRQCQ strategy for prathom suksa four students with low mathematics learning achievement was presented. The program was consisted of the following headings; the name of program, the rationale, the goal, the behavioral objectives, the characteristics, the content, the instruction, the materials, the instructional evaluation and the program evaluation.en
dc.format.extent825645 bytes-
dc.format.extent878214 bytes-
dc.format.extent1235709 bytes-
dc.format.extent879283 bytes-
dc.format.extent763733 bytes-
dc.format.extent954741 bytes-
dc.format.extent1633151 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำen
dc.title.alternativeThe development of the program for enhancing mathematics problem solving ability by using SQRQCQ strategy for prathom suksa four students with low mathematics learning achievementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chakraphan_To_front.pdf806.29 kBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_ch1.pdf857.63 kBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_ch2.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_ch3.pdf858.67 kBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_ch4.pdf745.83 kBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_ch5.pdf932.36 kBAdobe PDFView/Open
Chakraphan_To_back.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.