Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPunya Charusiri-
dc.contributor.advisorSugiyama, Yuichi-
dc.contributor.authorSanti Pailoplee-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2012-01-11T11:41:54Z-
dc.date.available2012-01-11T11:41:54Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16495-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractIn this study, the seismic hazards (SHA) in Thailand are analyzed. Fifty-five possible active fault zones identified from remote-sensing and out of those twenty-one seismic source zones are recognized to be the earthquake sources. The earthquake potential parameters used for SHA are derived from both active fault and earthquake catalogues. The strong ground-motion attenuation models are selected by comparison of the application of several candidate models with strong ground-motion data recorded in Thailand. Both deterministic (DSHA) and probabilistic (PSHA) approaches are employed in this SHA. For Thailand, there are seismic hazards in areas dominated by active fault zones such as northern, western, and southern Thailand. The DSHA map reveals seismic hazard around 0g-0.8g. In PSHA, the PGA values for 50 year in these areas are around 0.5g and 1g for 10% and 2% probability of exceedance, respectively. For Myanmar and Nicobar Islands the PSHA up to 3g in case of 2% probability of exceedance in 50 year according to the Sumatra-Andaman Subduction Zone. Comparing with the previous works the SHA of this study are higher than those proposed previously. However, this SHA compatible with the past ground shaking reported in the literatures. The SHA presented here is an important step toward an accurate evaluation of seismic hazard in Thailand. Further work is needed to refine the analysis. More observations of ground motion in the region are needed and further paleo-seismological study should be encourageden
dc.description.abstractalternativeประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหวในประเทศไทยและพื้นที่ข้างเคียง โดยพิจารณาแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวจากการกระจายตัวของรอยเลื่อนมีพลังและเขตกำเนิด แผ่นดินไหวในพื้นที่ศึกษา พฤติกรรมของแต่ละแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวประเมินจากข้อมูลการสำรวจรอยเลื่อนมีพลัง ประมวลผลร่วมกับฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่ตรวจวัดได้จากเครื่องมือ ตรวจวัดในปัจจุบัน วิธีกำหนดค่าและวิธีความน่าจะเป็น ได้ถูกประยุกต์ใช้ในการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหวนี้ จากผลประเมินพบว่า ในกรณีของวิธีกำหนดค่าประเทศไทยมีโอกาสได้รับผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวประมาณ 0g-0.8g ในบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของประเทศไทย ส่วนในกรณีวิธีความน่าจะเป็น แสดงการกระจายตัวของอันตรายจากแผ่นดินไหวคล้ายกับวิธีกำหนดค่าแต่ให้ค่าระดับอันตรายที่สูงกว่า เช่น กรณีในรอบ 50 ปี มีโอกาส 2% ที่แรงสั่นสะเทือนรุนแรงกว่า 1g และ 10% ที่แรงสั่นสะเทือน รุนแรงกว่า 0.5g ในประเทศไทย ในขณะที่ภาคตะวันตกของพม่าและหมู่เกาะนิโคบาร์ พบว่า แรงสั่นสะเทือนมีโอกาสสูงถึง 3g จาก 2% ในรอบ 50 ปี ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจากอยู่ใกล้กับแนวการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก สุมาตรา-อันดามัน โดยสรุป ผลการวิเคราะห์อันตรายจากแผ่นดินไหวนี้ แสดงค่าระดับอันตรายสูงกว่าที่เคยมีการนำเสนอไว้ในงานวิจัยเก่า แต่จากการเปรียบเทียบร่วมกับข้อมูลแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว ที่รายงานไว้ในอดีตพบว่า ระดับอันตรายจากแผ่นดินไหวจากการวิเคราะห์ครั้งนี้สอดคล้อง และสามารถต้านทานแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การประเมินระดับอันตรายจากแผ่นดินไหว ถูกต้องแม่นยำมากยิ่งขึ้น ในอนาคตควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยละเอียดเกี่ยวกับรอยเลื่อนมีพลัง และแบบจำลองการลดทอนแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษาen
dc.format.extent22964645 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2032-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectEarthquake hazard analysis -- Thailanden
dc.subjectEarthquakes -- Thailanden
dc.titleSeismic hazard assessment in Thailand using probabilistic and deterministic methodsen
dc.title.alternativeการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย โดยวิธีความน่าจะเป็นและวิธีกำหนดค่าen
dc.typeThesises
dc.degree.nameDoctor of Philosophyes
dc.degree.levelDoctoral Degreees
dc.degree.disciplineGeologyes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorcpunya@chula.ac.th-
dc.email.advisorsugiyama@mol.f.u-tokyo.ac.jp-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2032-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
santi_pa.pdf22.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.