Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิชัย อัสสะบำรุงรัตน์-
dc.contributor.authorพอตา บวรสถิตธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-05T05:07:21Z-
dc.date.available2012-02-05T05:07:21Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16707-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractเปอร์อะซิติก แอซิด (Peracetic acid or PAA) เป็นสารฟอกขาว (Bleaching agent) ชนิดหนึ่งซึ่งปัจจุบันนิยมนำมาใช้แทนโซเดียมไฮโปรคลอไรต์ (Sodium hypochlorite or NaOCl) และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เนื่องจากเป็นสารเคมีประเภทอินทรีย์สามารถย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ ไม่สะสมในสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า การใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และโซเดียมไฮโปรคลอไรต์ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและค่าความเป็นกรด-ด่าง ต่อการย่อยสลายของเลือดบนผ้าฝ้ายโดยการฟอกด้วย เปอร์อะซิติก แอซิด เพื่อเปรียบเทียบกับการใช้โซเดียมไฮโปรคลอไรต์เป็นสารฟอกในปริมาณที่เท่ากัน (0.5%) โดยศึกษาปริมาณผ้าที่ถูกทำลาย (% Fabric loss) ปริมาณเลือดบนผ้าที่กำจัดได้ (% Blood removal) และหาปริมาณของเปอร์อะซิติก แอซิด ที่เพิ่มขึ้นและลดลงที่ค่าความเป็นกรด-ด่าง 5, 8 และ 11 ณ อุณหภูมิ 30, 40, 50 และ 60 องศาเซลเซียส โดยการใช้ผ้าตัวอย่างที่เป็นผ้าฝ้าย 100% ที่เปื้อนเลือดมาฟอกด้วยเปอร์อะซิก แอซิดและโซเดียมไฮโปรคลอไรต์ จากการศึกษาพบว่า เปอร์อะซิติก แอซิด สามารถกำจัดเลือดบนผ้าได้แต่ประสิทธิภาพยังด้อยกว่า เมื่อเทียบกับการใช้โซเดียมไฮโปรคลอไรต์ในปริมาณที่เท่ากัน แต่สิ่งที่ได้จากการทดลองที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งก็คือ เส้นใยผ้าถูกทำลายน้อยกว่า และเหตุผลดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยยืดอายุการใช้งานของเสื้อผ้าและเส้นใยได้ยาวนานขึ้น และยังสามารถช่วยลดการใช้พลังงานในการทำความสะอาดผ้าอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativePeracetic acid (PAA) is used as a replacement for conventional bleaching agents, such as sodium hypochlorite (NaOCl) and hydrogen peroxide (H2O2). Peracetic acid is an organic chemical. It can be decomposed in the environment and has no potential to bioaccumulation. Therefore, peracetic acid is more environmental friendly than sodium hypochlorite (NaOCl) and hydrogen peroxide (H2O2). This research investigated the effects of temperature and pH on decomposition of blood stain on cotton fabrics by bleaching with peracetic acid at 0.5%, the same usage of sodium hypochlorite. The main purpose is to present results obtained in experiments carried out to study the % Fabric loss and % Blood removal at pH 5, 8 and 11 and at temperature 30, 40, 50 and 60℃ using 100% cotton staining with blood. Although the bleaching efficiency of peracetic acid for removing the blood was found to be lower than sodium hypochlorite, the benefit from this experiment is that the fiber or fabric is lost or damaged at less extent. The results demonstrated that the use of peracetic acid can extend service life of fabric or clothes and that cost reduction by minimizing the use of energy in fabric bleaching is realized.en
dc.format.extent3185470 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.272-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผ้าฝ้ายen
dc.subjectการฟอกขาวen
dc.subjectกรดเปอร์อะซิติกen
dc.subjectไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์en
dc.subjectโซเดียมไฮโปคลอไรต์en
dc.titleอิทธิพลของอุณหภูมิและค่าความเป็นกรด-ด่างต่อการย่อยสลายของเลือดบนผ้าฝ้ายโดยการฟอกด้วย เปอร์อะซิติก แอซิดen
dc.title.alternativeEffects of temperature and Ph on decomposition of blood stain on cotton fabrics by bleaching with peracetic aciden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuttichai.A@eng.chula.ac.th, sas@linde.che.chula.edu-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.272-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phorta_bo.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.