Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบง ตันติวงศ์-
dc.contributor.authorเกศิณี ศิริสุนทรไพบูลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-10T11:11:19Z-
dc.date.available2012-02-10T11:11:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16759-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมการป้องกันปัญหาพฤติกรรมเพื่อส่งเสริม ความสามารถทางสังคมในห้องเรียนของเด็กวัยอนุบาล โดยโปรแกรมฯที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 เตรียมการ ขั้นที่ 2 สร้างโปรแกรมฯ ขั้นที่ 3 ทดลองใช้โปรแกรมฯ และ ขั้นที่ 4 ปรับปรุงโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กวัยอนุบาลอายุ 4 – 6 ปี ในปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลบ้านรัก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำนวน 7 คน ของโรงเรียนอนุบาลบ้านรัก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เก็บข้อมูลพฤติกรรมความสามารถทางสังคมในห้องเรียนก่อนและหลังการทดลอง และประเมินความพึงพอใจ ของครู ผู้บริหารและนักวิชาชีพโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เพื่อปรับปรุงโปรแกรมฯ ผลการวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ 1.หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ เด็กมีระดับความสามารถทางสังคมในห้องเรียนสูงกว่า ก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ครู ผู้บริหาร และนักวิชาชีพทั้งหมดมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการดำเนินการใช้โปรแกรมฯ อยู่ในระดับมาก โปรแกรมมีลักษณะเป็นแผนการจัดระบบการดำเนินการเฝ้าระวังและช่วยเหลือตั้งแต่แรกเริ่ม ในโรงเรียนโดยมีสมาชิกในคณะทำงานคือครูประจำชั้น ครูวิชาการ ผู้บริหาร และนักวิชาชีพ ซึ่งมี บทบาทร่วมกันในการประเมินเด็กในสิ่งแวดล้อมที่เป็นชีวิตจริงของเด็ก ประกอบด้วย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การคัดกรอง ะยะที่ 2 การออกแบบการสอนรายบุคคล ระยะที่ 3 การนำแผนการจัดประสบการณ์ให้ความช่วยเหลือตั้งแต่ระยะแรกเริ่มสู่การปฏิบัติ และระยะที่ 4 การปรับแผนการสอนรายบุคคลen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop a behavior problem prevention program to enhance classroom-based social competence for preschool children. The program development consisted of four phases: 1) preparation 2) construction 3) field test and 4) revision. The samples were seven four to six year-old children in 2008 academic year, at Baanrak Kindergarten, Bangkok educational service area office 1. The data collection to improve the program was done by 1) pre – test and post – test of classroom – based social competence 2) unstructured interview of satisfaction. The research findings were as follows: 1) after the field test, the scores on social competence of the samples were significantly higher from those of the before at the .05 level 2) the teachers, principal and specialist viewed program as most satisfaction. The program was an organizing plan of school-based early detection and intervention done by a collaborative team of class teachers, academic teacher, principal and specialist. The team members assessed children in natural setting in four phases: 1) screening 2) designing individual study plan 3) implementing early intervention experience and 4) revising individual study planen
dc.format.extent1384253 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.416-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนอนุบาลen
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมen
dc.subjectเด็กen
dc.subjectทักษะทางสังคมen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการป้องกันปัญหาพฤติกรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถทางสังคมในห้องเรียนของเด็กวัยอนุบาลen
dc.title.alternativeThe development of a behavior problem prevention program to enhance classroom-based social competence for preschool childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBoosbong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.416-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kesinee_SI.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.