Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16856
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Bunjerd Jongsomjit | - |
dc.contributor.author | Somchat Amornlertpreecha | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-12T03:34:46Z | - |
dc.date.available | 2012-02-12T03:34:46Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16856 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2009 | en |
dc.description.abstract | Nowadays metallocene catalysts have been interesting both research and commercial. However general metallocene catalysts have had two major disadvantages of homogeneous system that are the lack of controllable morphology and occur fouling in the reactor. To overcome these problems the supported metallocene catalyst system has been investigated and developed continually. Besides this strategy may be less amount of MAO usage and utilized in gas-phase processes. In this study, metallocene catalyst was used for linear low density polyethylene syntheses by ethylene and 1-olefin copolymerization with various surface area mesoporous titania as support. First, mesoporous titanias were synthesized in various hydrolysis ratios (Ti/H2O), and characterized by BET, XRD, SEM. The obtained titania was found that the mesoporous form of titania was obtained in isotherms type IV by BET technique. Anatase phase was detected by XRD and structure of mesoporous titania was seen by SEM. The various suface area mesoporous titanias were impregnated with methylaluminoxane, and then characterized by SEM/EDX, XPS and TGA. It was found that the [Al]MAO distribution on the TiO2 supports was good as seen by SEM/EDX and XPS. The copolymer obtained was further characterized by 13C NMR. The highest activity occurred when the highest surface area of mesoporous TiO2 was employed due to the optimal interaction between the support and cocatalyst as seen by TGA. The copolymer obtained were random copolymer having different triad distribution as proven by 13C NMR. | en |
dc.description.abstractalternative | ทุกวันนี้ ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนได้รับความสนใจทั้งทางด้านงานวิจัย และด้านอุตสาหกรรม เห็นได้จากการมีการตีพิมพ์วารสารทางวิชาการออกมาจำนวนมากในระยะหลัง อย่างไรก็ตาม ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนในปฏิกิริยาทั่วไปมีข้อเสียหลักอยู่ 2 ประการ คือ ไม่สามารถควบคุมโครงสร้างสัณฐานของพอลิเมอร์ที่ผลิตได้ และเกิดสิ่งสกปรกเกาะติดอยู่ภายในเครื่องปฏิกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาที่กล่าวไปนี้ ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนชนิดมีตัวรองรับจึงถูกศึกษาและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การนำระบบตัวรองรับมาใช้ ยังช่วยให้ปฏิกิริยาใช้ตัวร่วมปฏิกิริยาที่มีราคาสูงในปริมาณลดลง และยังสามารถนำตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนไปใช้ในอุตสาหกรรมได้อีกด้วย ในงานวิจัยนี้ได้นำตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนมามาใช้ในการสังเคราะห์พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำชนิดโซ่ตรง ด้วยปฏิกิริยาโคพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีนกับ 1-โอเลฟิน โดยใช้มีโซพอรัสไทเทเนียที่มีพื้นที่ผิวต่างๆ เป็นตัวรองรับ โดยการทดลองเริ่มจากการสังเคราะห์มีโซพอรัสไทเทเนียในหลายๆ อัตราส่วน (ไทเทเนียมต่อน้ำ) แล้วนำไปวิเคราะห์ด้วย BET, XRD และ SEM ไทเทเนียที่ได้จะทราบว่ามีรูพรุนชนิด มีโซพอรัส ถูกแสดงให้เห็นด้วย isotherms ชนิดที่ 4 ด้วยเทคนิค BET ทราบว่าเป็นเฟสอนาเทสได้จากการตรวจสอบด้วยเครื่องมือ XRD และ เห็นโครงสร้างของไทเทเนียด้วยเครื่อง SEM ไทเทเนียที่ได้จะถูกยึดเกาะด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมเมทิลอะลูมินอกเซนและวิเคราะห์ด้วย SEM/EDX, XPS, TGA และ พบว่าปริมาณอะลูมินาในเมทิลอะลูมินอกเซนมีการกระจายตัวได้ดีเมื่อดูด้วย SEM/EDX และ XPS โคพอลิเมอร์ที่ได้จะถูกนำไปวิเคราะห์ด้วย 13C NMR ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาจะสูงสุดเมื่อใช้มีโซพอรัสไทเทเนียที่มีพื้นที่ผิวสูงสุด เนื่องจากอันตรกิริยาที่เหมาะสมระหว่างตัวรองรับและตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมดังที่เห็นได้จาก TGA โคพอลิเมอร์ที่ได้เป็นโคพอลิเมอร์แบบสุ่มที่มีไทรแอดดิสทริบิวชันที่ต่างกันดังที่พิสูจน์ได้จาก 13C NMR | en |
dc.format.extent | 2054444 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1700 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Metallocene catalysts | en |
dc.subject | Copolymers | en |
dc.subject | Polymerization | en |
dc.subject | Polyethylene | en |
dc.title | Copolymerization of ethylene/1-olefin with mesoporous titania-supported metallocene catalyst | en |
dc.title.alternative | พอลิเมอร์ไรเซชันร่วมของเอทิลีนกับหนึ่งโอเลฟินด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนบนตัวรองรับมีโซพอรัสไทเทเนีย | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Engineering | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | Chemical Engineering | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | Bunjerd.J@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1700 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchat_Am.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.