Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorสมภพ ตั้งกาญจนาเวฬุกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-17T08:16:48Z-
dc.date.available2012-02-17T08:16:48Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16936-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1. เพื่อพัฒนาระบบการชี้วัดความสำเร็จด้วยแนวทางของการวัดผลเชิงดุลยภาพ 2. เพื่อพัฒนาดัชนีชี้วัดต่าง ๆ สำหรับใช้ในการลดความสูญเสียของโรงงานตัวอย่าง แนวทางในการดำเนินการทำวิทยานิพนธ์เริ่มจากการศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการศึกษากระบวนการดำเนินงาน และวางแผนกลยุทธ์ของโรงงานตัวอย่าง การจัดหาตัวชี้วัดให้เหมาะสมกับ 4 มุมมองและประเมินคัดสรรตัวชี้วัดของหน่วยงาน การจัดทำการวัดผลเชิงดุลยภาพ การสร้างแผนปฏิบัติการ และนำ BSC และ KPI ไปวิเคราะห์เพื่อลดความสูญเสียพร้อมทั้งสร้างมาตรการในการลดความสูญเสีย สุดท้ายนำมาตรการไปใช้กับโรงงานแล้วเปรียบเทียบความสูญเสียที่ลดลงก่อนแล้วหลังดำเนินการ ผลที่ได้จากการวิจัยคือ 1) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยลดลงจากเดิม 899.84 บาท / มอเตอร์ 1 ตัว เป็น 876.08 บาท / มอเตอร์ 1 ตัว 2) การตรวจสอบครั้งแรกครั้งเดียวผ่านเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากเดิม 90% เป็น 94% 3) การผลิตให้ตรงตามแผนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากเดิม 90% เป็น 94% 4) %ของเสียเฉลี่ยลดลงจากเดิม 5% เป็น 2.1% 5) เวลาที่เครื่องจักรหยุดทำงานเฉลี่ยลดลงจากเดิม 10% เป็น 3.8% 6) จำนวนของเสียที่ผ่านการตรวจ Q.C. แล้วถูกส่งคืนกลับมาเฉลี่ยลดลงจากเดิม 3% เป็น 1.5 % 7) ความเสียหายในการจัดเก็บสินค้าเฉลี่ยลดลงจากเดิมจัดเก็บเสียหาย 1 ครั้ง เป็นไม่มีเลย ซึ่งในงานวิจัยนี้จะดำเนินการลดการสูญเสียใน KPI บางตัวที่ได้กล่าวมาในข้างต้น ส่วนในการลดความสูญเสียใน KPI ตัวอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวจะทำการปรับปรุง และแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThis thesis first goal is to establish key performance indicators (KPI) based on balanced scorecard (BSC). Secondly, the indicators are developed to facilitate waste reduction in the studied motor factory. The research begins with reviews of theory and literature relevant to process study and strategic formation that provides the framework for four perspectives according to balanced scorecard concept. The populated BSC and proposed KPI are used to help establish practical measures for waste reduction. Results after implementation are compared with the prior state. The research results are (1) The average production cost reduces 2.65 per cent, (2) first-test pass rate increases from 90 to 94 per cent, (3) on-time production also increases from 90 to 94 per cent, (4) Waste percentage reduces from 5 to 2.1 per cent, (5) idle machinery time reduces from 10 to 3.8 per cent, (6) the average of bad material pass inspector reduces from 3 to 1.5%, and (7) the average of inventory loss reduce from 1 to none. In this Research will operate waste reduction in some KPI. The others KPI will improve and solve problem continuous in the futureen
dc.format.extent2688401 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.906-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสมรรถนะen
dc.subjectการวัดผลงานen
dc.subjectรวางแผนเชิงกลยุทธ์en
dc.titleการจัดทำดัชนีชี้วัดหลักโดยใช้เทคนิคการวัดผลเชิงดุลยภาพในโรงงานผลิตมอเตอร์en
dc.title.alternativeAn establishment of key performance indicators based on balanced scorecard for motor's factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.906-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sompob_th.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.