Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระชัย ปูรณโชติ-
dc.contributor.authorถนอมจิตต์ เสนมา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-02-26T06:05:22Z-
dc.date.available2012-02-26T06:05:22Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745620289-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17047-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งเรียนด้วยเทคนิคการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนด้วยกัน รวมทั้งสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อเทคนิคการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพญาไท จำนวน 2 ห้องเรียน ๆ ละ 40 คน ซึ่งนักเรียนทั้งสองห้องมีความรู้พื้นฐานทางวิชาเคมี จากคะแนนการสอบวิชาเคมีบทที่ 1 ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผู้วิจัยดำเนินการสอนนักเรียนทั้งสองห้องในวิชาเคมี เล่ม 1 บทที่ 2 และบทที่ 3 เป็นเวลาประมาณ 12 สัปดาห์ ๆ ละ 3 คาบ โดยสอนกลุ่มควบคุม แบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน และสอนกลุ่มทดลอง แบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน เมื่อสอนจบแต่ละตอนของบทเรียนจะทดสอบย่อย (Quiz) ประมาณ 10-20 นาที หลังจากการสอนแต่ละบทเรียนสิ้นสุดลง นักเรียนสองกลุ่มทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี บทที่ 2 และบทที่ 3 ตามลำดับ และให้กลุ่มทดลองตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อเทคนิคการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน นำผลรวมของคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี บทที่ 2 และบทที่ 3 ของนักเรียนทั้งสองกลุ่ม มาเปรียบเทียบมัชฌิมเลขคณิต และทดสอบความมีนัยสำคัญด้วยค่าที (t-test) สำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อเทคนิคการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน ผู้วิจัยหาค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วนำมาจัดระดับความคิดเห็นของนักเรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด ผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งเรียนด้วยเทคนิคการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนด้วยกัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. ความคิดเห็นของกลุ่มนักเรียนที่มีการสอนแบบสืบสอบแบบจัดกิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเรียนแบบนี้อยู่ในระดับปานกลางและข้อที่เห็นด้วยอย่างมาก คือ เห็นว่ากิจกรรมอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน ช่วยกระตุ้นให้ใช้ความคิดขณะเรียน มีโอกาสค้นหาคำตอบด้วยตนเอง เป็นการฝึกให้นักเรียนช่วยเหลือตนเองในการเรียน การทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ และรับผิดชอบในการทำการทดลองและการเขียนรายงาน-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the students’ achievement in learning chemistry by teacher-student discussion inquiry technique and student-student discussion inquiry technique and to survey the students’ opinion concerning student-student discussion inquiry technique. Two groups of mathayom suksa four students, 40 each, at Triamudom Suksa School Phayathai were selected as samples of this study. The sample selection was based on the criteria that there was no significant difference at the .05 level of those two groups’ score in chemistry lesson I. The two groups were taught Chemistry Book I lesson 2 and lesson 3 for twelve weeks, three periods per week. The control group was taught by teacher-student discussion inquiry technique and the experimental group was taught by student-student discussion inquiry technique. A quiz of 10-20 minutes was administered to both groups at the end of each unit. The achievement tests in chemistry were administered to both groups at the end of lesson 2 and lesson 3 and the questionnaire which surveyed students’ opinion concerning student-student discussion inquiry technique was administered to the experimental group. The obtained data from the achievement tests were analyzed by means of the arithmetic mean and t-test. The obtained data from the questionnaire was analyzed by means of the arithmetic mean and standard deviation. The results showed that: 1. There was no significant difference in mathayom suksa four students’ achievement in learning chemistry by teacher-student discussion inquiry technique and student-student discussion inquiry technique at the .05 level. 2. Most students agreed upon using the student-student discussion inquiry technique in learning chemistry at the moderate level. The opinions that most students strongly agreed were: the discussion among students encourages them to think and solve their problems, help themselves, work in groups and have the responsibilities in doing the experiment and write their reports.-
dc.format.extent416094 bytes-
dc.format.extent458865 bytes-
dc.format.extent1069225 bytes-
dc.format.extent509856 bytes-
dc.format.extent311343 bytes-
dc.format.extent376221 bytes-
dc.format.extent1871688 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการสอนen
dc.subjectการสอนแบบสืบสอบen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งเรียนด้วยเทคนิคการสอนแบบสืบสอบ แบบจัดกิจกรรมอภิปราย ระหว่างครูกับนักเรียนและระหว่างนักเรียนด้วยกันen
dc.title.alternativeA comparison of mathayom suksa four students' achievement in learning chemistry by teacher-student discussion inquiry technique and student-student discussion inquiry techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanomjitt_Se_front.pdf406.34 kBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_ch1.pdf448.11 kBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_ch2.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_ch3.pdf497.91 kBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_ch4.pdf304.05 kBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_ch5.pdf367.4 kBAdobe PDFView/Open
Thanomjitt_Se_back.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.