Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorThanomnuan O'charoen-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2012-02-26T06:09:05Z-
dc.date.available2012-02-26T06:09:05Z-
dc.date.issued1977-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17048-
dc.descriptionThesis (M.A.)-- Chulalongkorn University, 1977en
dc.description.abstractเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงนั้น ประเทศเยอรมันได้แตกแยกออกเป็น 2 ประเทศ คือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมันตะวันตก) และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมันตะวันออก) ลักษณะการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมที่แตกต่างกัน มีผลสะท้อนให้รูปแบบของวรรณคดีในสองประเทศนั้นแตกต่างกันไปด้วย กล่าวคือในขณะที่วงการวรรณคดีในเยอรมันตก สามารถพัฒนาความคิดได้อย่างอิสระ ทางรัฐบาลของเยอรมันตะวันออกก็ได้พยายามที่จะใช้วรรณคดีที่เกิดขึ้นใหม่เป็นเครื่องมือของตนพยายามบีบคั้นจะให้นักเขียนเขียนในแนวที่ตนต้องการเท่านั้น และสิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือในวรรณคดีของประเทศเยอรมันตะวันออกมักจะเสียดสี และกล่าวร้ายคนในสังคมเยอรมันตะวันตกอยู่เป็นประจำ เนื่องจากผู้เขียนเคยศึกษาที่ประเทศเยอรมันตะวันตก ได้เห็นและเรียนรู้สภาพของสังคมเยอรมันตะวันตกด้วยตนเองมาแล้ว ผู้เขียนมีความคิดเห็นว่า วรรณคดีของประเทศเยอรมันตะวันออกมีลักษณะการเขียนเข้าข้างตนเอง และปราศจากข้อเท็จจริง จึงได้ศึกษาและวิเคราะห์นวนิยายของเยอรมันตะวันออก 2 เรื่อง คือ เรื่อง แดร์ เกไทลเท ฮิมเมล ของ คริสตา วอลฟ และ ดี เอาลา ของ แฮร์มานน์ คานท์ ซึ่งเป็นที่รู้จักดีในประเทศเยอรมันตะวันตกและตะวันออก ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนความคิดของผู้เขียนดังกล่าวข้างต้น งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 3 บทใหญ่ ในบทแรกผู้เขียนจะวิจารณ์การมองสภาพาของสังคมเยอรมันตะวันตก ในนวนิยายเรื่อง แดร์ เกไทลเท ฮิมเมล ของ คริสตา วอลฟ ในตอนสุดท้ายของบทแรกนั้นจะวิเคราะห์ภาษาและแนวการเขียนของนวนิยายเรื่องนี้ด้วย ในบทที่ 2 ผู้เขียนจะวิจารณ์นวนิยายเรื่อง ดี เอาลา ของ แฮร์มานน์ คานท์ ในแนวเดียวกันกับการวิจารณ์ในบทแรก ในบทสุดท้าย ผู้เขียนจะเปรียบเทียบนิยายทั้งสองในแง่การมองสภาพ ของสังคมเยอรมันตะวันตก และหาข้อสรุปว่า นวนิยายทั้งสองเล่มนี้ได้มองสภาพสังคมตะวันตกเหมือนกันหรือ ต่างกันเพียงใด และผิดไปจากข้อเท็จจริงอย่างไรบ้าง-
dc.description.abstractalternativeDie Tatsache, DaB Deutschland zweigeteilt ist und es infolgedesson verschiedene Literaturen der beiden deutschen Nationen gibt, muB man akzeptieren. Da die DDR-Literatur dem Verfasser dieser Arbeit verhaltnismaBig neu und daruberhinaus in Thailand in Vergleich zur west-deutschen Literatur auBerst unbekannt ist, ermoglicht diese Untersuchung, einenfur uns neuen Bereich der modernen Weltliteratur kennen und beurteilen zu lornen. Bei der Untersuchung der Arbsit gehe ich induktiv vor.Ich untersuche die beiden Werke zunachst gotrennt, zuerst Christa Wolfs Erzahlung und danach Hermann Kants Roman. Zuletzt folgt eine Stellungsnabme, um zu zeigen, wie einseitig und storeotyp oder wie differenziert die beiden Werke den Westen darstellon. Die Arbeit besteht aus drei Teilen.Im ersten Teil wird Christa Wolfs Erzahlung “Der geteilte Himmel” untersucht.Die Untersuchung geht von allgemeinen Vor-bomorkungen aus.Danach warden die Sprache und der Stil Christa Wolfs auf ihre Funktionalitat hin analysiert. Am SchluB des ersten Teiles beschranke ich mich auf die Darstellung der westdeutschen Gesellschaft in dieser Erzahlung. Der zweite Teil befaBt sich mit der Untersuchung von Hermann Kants Roman “Die Aula”. Dei der Untersuchung dieses Romans gehe ich genauso vor wie im ersten Teil. Die Stellungnahme zu den Werken und der Vergleich beider Werke nach den drei Gosichtspunkten Sprache und Stil, Figurenanalyse und Darstellung der westlichen Welft warden im dritten Teil erarbeitet.-
dc.format.extent430658 bytes-
dc.format.extent333044 bytes-
dc.format.extent1089624 bytes-
dc.format.extent932299 bytes-
dc.format.extent921896 bytes-
dc.format.extent252758 bytes-
dc.format.extent296208 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isodees
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectGerman fiction -- History and criticismen
dc.titleDie Sicht der westdeutschen Gesellschaft in Christa Wolfs Roman "Der geteilte Himmel" und Hermann Kants Roman "Die Aula"en
dc.title.alternativeการศึกษาการมองสภาพของสังคมเยอรมันตะวันตกในนวนิยายเรื่อง แดร์ เกไทลเท ฮิมเมล ของ คริสตา วอลฟ กับ ดี เอาลา ของ แฮร์มานน์ คานท์en
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineGermanes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanomnuan_Oc_front.pdf420.56 kBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_ch1.pdf325.24 kBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_ch2.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_ch3.pdf910.45 kBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_ch4.pdf900.29 kBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_ch5.pdf246.83 kBAdobe PDFView/Open
Thanomnuan_Oc_back.pdf289.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.