Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์-
dc.contributor.authorศรัญญู คำภาบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-03T08:53:05Z-
dc.date.available2012-03-03T08:53:05Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17368-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการศึกษานี้ทำการตรวจวัดอัตราการระบายอากาศพร้อมทั้งฝุ่นละอองและปริมาณจุลินทรีย์ ในอากาศของห้องภายในโรงพยาบาลที่ใช้วิธีระบายอากาศแตกต่างกัน ได้แก่ ห้องที่ระบายอากาศ ด้วยวิธีทางธรรมชาติ ห้องที่ใช้ระบบปรับอากาศแบบเดี่ยวและห้องที่ใช้ระบบปรับอากาศแบบรวม ภายในโรงพยาบาล โดยทำการศึกษาในช่วงเวลาเช้า ช่วงเที่ยงและช่วงบ่าย การเก็บตัวอย่าง จุลินทรีย์ใช้เครื่องเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์ในอากาศแบบชั้นเดียว (Single Stage Bio-Impactor) ที่บรรจุ อาหารเลี้ยงเชื้อ Blood Agar สำหรับเชื้อแบคทีเรียและอาหารเลี้ยงเชื้อ Potato Dextrose Agar สำหรับเชื้อรา ในขณะเดียวกันทำการวัดฝุ่นละอองรวม ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ฝุ่น ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิ บันทึกกิจกรรมและ จำนวนคนภายในห้อง การศึกษา พบว่า ห้องที่ระบายอากาศด้วยวิธีทางธรรมชาติมีอัตราแลกเปลี่ยนอากาศมาก ที่สุดอย่างมีนัยสำคัญที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (Sig. =0.000) และมีค่าความเข้มข้นฝุ่นละอองรวม ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอนและฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนมากกว่าห้องที่ใช้ ระบบปรับอากาศอย่างมีนัยสำคัญที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (Sig.=0.000, Sig.=0.000 และSig = 0.000) แต่ห้องที่ใช้ระบบปรับอากาศมีปริมาณเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราในอากาศมากกว่าห้องที่ ระบายอากาศด้วยวิธีทางธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (Sig.=0.021 และ Sig.=0.004) นอกจากนั้นพบว่า ความหนาแน่นของคนภายในห้องมีความสัมพันธ์กับปริมาณเชื้อ แบคทีเรียอากาศ (R2>0.50) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ที่ชัดเจนระหว่างตัวแปรอื่นๆen
dc.description.abstractalternativeThis study carried out measurement of ventilation rate together with particulate matter and airborne microbes in hospital patient rooms with natural ventilation, single air conditioning and central air conditioning system. Airborne microbes were sampled by Single Stage Bio-Impactors. Nutrient used for cultivating bacteria was Blood Agar (BA) and that for Fungi was Potato Dextrose Agar (PDA). At the time of sampling, TSP, PM10, PM2.5, air velocity, relative humidity, temperature as well as number of people and activities was recorded. The results found that natural ventilated rooms had the highest air change rate (Sig. =0.000). The TSP, PM10 and PM2.5 concentrations were higher in natural ventilated rooms (Sig. =0.000, Sig. =0.000 and Sig = 0.000) due to outdoor sources while microbes both bacteria and fungi were higher in mechanical ventilated rooms (both single air conditioning and central air conditioning system) (Sig. =0.021 and Sig. =0.004). Population density was found to be correlated to airborne bacteria (R2>0.50), but other parameters found to be uncorrelated.en
dc.format.extent1704389 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.966-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาล -- การระบายอากาศen
dc.subjectจุลินทรีย์en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการระบายอากาศและปริมาณจุลินทรีย์ในอากาศภายในโรงพยาบาลen
dc.title.alternativeRelationship between ventilation rate and airborne microbes in a hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWongpun.L@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.966-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarunyoo_Ku.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.