Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17370
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chayodom Sabhasri | - |
dc.contributor.author | Sathit Talaengsatya | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-03T09:00:40Z | - |
dc.date.available | 2012-03-03T09:00:40Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17370 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2009 | en |
dc.description.abstract | This paper studied the determinants of European demand to Thai tourism, estimates the elasticities of demand – the price elasticity, the income elasticity and the cross-income elasticity - and also explored the dynamics of those elasticities over the sample period of 1996Q1-2008Q4. To estimate the elasticities of tourism demand, the cointegration analyses – the Engle-Granger (EG) method and the Johansen Cointegration Test – were employed. In additional to the two approaches, the Rolling Regresssion and the Recursive Ordinary Least Square (OLS) were utilised as analytical tools to investigate the dynamics of the European demand to Thai tourism. The samples in this study were divided into two groups – 11 country models and 3 income-group models. Concerning empirical results, the price elasticity was found to be inelastic both in the country models and in the income-group model, according to the two means of estimation. Meanwhile, the income elasticity in two groups of samples, either in the country models or the income-group model, was found to be elastic or highly elastic. This was in line with empirical evidence suggested by the existing empirical literature. The cross-price elasticities were found to be mixed depending on the competitive destinations. Regarding the dynamics of the price elasticity overtime, for both the country models and the income-group models, were found to be inelastic and approaching zero, whereas those of the income elasticity were found be elastic and increasing overtime. Based upon these findings, following policy recommendations were concluded. Firstly, on the policymakers’ front, low tourism strategies were unlikely to be effective in attracting more European tourists and increasing tourism receipts given the inelastic price elasticity. Policies promoting Thailand’s images as a tourism destination meeting European holidaymakers’ motivations for travelling should be implemented. This was due to the fact that the habit persistence or the so-called word-of-mouth effects was a crucial and significant determinant of European demand to Thai tourism. On the other hand, for the Thai tourism entrepreneurs, they could increase some certain degrees of tourism products in order to gain more revenues with losing significant number of visitors. Secondly, provided the findings of the income elasticity, the Thai tourism sector was exposed to shocks affecting income levels of the tourism-generating countries and those were unpredictable. The best strategy to minimise uncertainties was to promote and create Thailand to be a “must-go tourism destination” as a mean to generate tourism income in the long-run. | en |
dc.description.abstractalternative | งานศึกษานี้ศึกษาปัจจัยสำคัญที่กำหนดอุปสงค์ของนักท่องเที่ยวจากกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป (อียู) ต่อการ ท่องเที่ยวของไทย พร้อมกับประมาณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ประกอบด้วย ความยืดหยุ่นอุปสงค์ด้านราคา ความ ยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้านรายได้ และความยืดหยุ่นอุปสงค์ไขว้ อีกทั้งงานศึกษานี้ได้ศึกษาพลวัตรของค่าความยืดหยุ่น อุปสงค์เหล่านั้นในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี 1996 ไตรมาส 1 ถึงปี 2008 ไตรมาส 4 โดยในการประมาณค่าความยืดหยุ่น ดังกล่าว งานศึกษานี้ได้ใช้วิธีการทางเศรษฐมิติที่เรียกว่าโคอินทิเกรชั่น โดยวิธีการของ Engle-Granger (EG) และวิธีการ ของ Johansen นอกจากนี้เพื่อศึกษาพลวัตรของค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์เหล่านั้น งานศึกษาชิ้นนี้ได้ใช้วิธีการที่เรียกว่า Rolling Regression และ Recursive Ordinary Least Square (OLS) สำหรับกลุ่มประเทศตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ แบบจำลองของแต่ประเทศ 11 แบบจำลองและแบบจำลองของกลุ่มประเทศ 3 กลุ่มซึ่งจำแนกตาม ระดับรายได้ สำหรับผลการศึกษาเชิงประจักษ์พบว่า ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้านราคาที่ประมาณค่าโดยทั้งสองวิธีมี ความยืดหยุ่นต่ำทั้งในแบบจำลองของแต่ละประเทศ 11 แบบจำลองและแบบจำลองสำหรับกลุ่มประเทศ 3 กลุ่ม อย่างไรก็ ดี สำหรับค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้านรายได้ในกลุ่มประเทศตัวอย่างสองกลุ่มพบว่ามีความยืดหยุ่นหรือยืดหยุ่นมาก ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาเชิงประจักษ์ของการศึกษาอื่นๆก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้พบว่า แปรผันตามประเทศที่เป็นคู่แข่ง อนึ่งสำหรับพลวัตรของค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้านราคาสำหรับทั้งสองกลุ่มตัวอย่าง พบว่ามีไม่ยืดหยุ่นและมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ส่วนพลวัตรของค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้านรายได้พบว่ายืดหยุ่นและมีโน้ม เพิ่มขึ้นตลอดช่วงเวลาที่ศึกษา จากผลการศึกษาเชิงประจักษ์สามารถสรุปเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายได้ดั้งนี้ ประการที่หนึ่ง สำหรับผู้กำหนด นโยบาย การกระตุ้นการท่องเที่ยวผ่านการใช้นโยบายการลดราคาเพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มขึ้นของจำนวนนักท่องเที่ยวจากยุโรป และเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวให้กับประเทศไม่สามารถให้ผลที่มีประสิทธิภาพเนื่องจากค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ด้าน ราคามีค่าต่ำ ผู้ดำเนินนโยบายควรกำหนดนโยบายที่มุ่งเน้นการส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทยในฐานะที่เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่ตรงกับมูลเหตุและแรงจูงใจในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปมากกว่า เนื่องจากการกลับมาท่องเที่ยว ซ้ำและการบอกเล่าต่อ (habit persistence and word-of-mount effects) เป็นปัจจัยจำสำคัญในการกำหนดอุปสงค์ของ นักท่องเที่ยวจากยุโรปที่มีต่อการท่องเที่ยวของไทย สำหรับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวของไทยสามารถเพิ่มระดับ ราคาบริการการท่องเที่ยวขึ้นได้อีกเพื่อเพิ่มรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวยุโรป โดยไม่มีผลกระทบด้านลบจากจำนวน นักท่องเที่ยวที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากระดับค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ด้านราคาที่ต่ำ ประการที่สอง จากผล การศึกษาเชิงประจักษ์ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ด้านรายได้ ภาคการท่องเที่ยวของไทยมีระดับการเปิดรับความเสี่ยงจาก ภาวะเศรษฐกิจในประเทศยุโรปสูง อีกทั้งปัจจัยด้านรายได้เป็นปัจจัยภายนอกและมีความไม่แน่นอน นโยบายการส่งเสริม ให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องมาเที่ยว (a must-go destination) จึงเป็นนโยบายที่สุดในการรองรับความเสี่ยง ดังกล่าวสำหรับผู้ดำเนินนโยบาย | en |
dc.format.extent | 3086719 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1769 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Tourism -- Economic aspects -- Thailand | en |
dc.subject | European Union | en |
dc.title | Comparative analysis of EU demand for Thai tourism | en |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบอุปสงค์ต่อการท่องเที่ยวไทยของสหภาพยุโรป | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Arts | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | European Studies | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | Chayodom.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1769 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sathit_Ta.pdf | 3.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.