Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17526
Title: การพัฒนาการจัดตารางการผลิตสำหรับส่วนงานเย็บในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มเพื่อลดจำนวนงานล่าช้า
Other Titles: Production scheduling development for sewing process in apparel industry to reduce the number of tardy jobs
Authors: กฤษฎา หาญสมบัติ
Advisors: วิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Wipawee.T@Chula.ac.th
Subjects: อุตสาหกรรมเสื้อผ้า -- การควบคุมการผลิต
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการจัดตารางการผลิตสาหรับส่วนงานเย็บในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มเพื่อลดจานวนงานล่าช้า ซึ่งเป็นการพัฒนาวิธีการจัดตารางโดยใช้การค้นหาแบบทาบูในการหาคาตอบการจัดตารางการผลิตบนเครื่องจักรขนานซึ่งไม่เกี่ยวเนื่องกันโดยพิจารณาเวลาปรับตั้งเครื่องจักรขึ้นกับงานก่อนหน้าเพื่อให้มีจานวนงานล่าช้าน้อยที่สุด การทดสอบประสิทธิภาพของการค้นหาแบบทาบูที่พัฒนาขึ้นกระทาโดยการเปรียบเทียบค่าวัตถุประสงค์กับค่าคาตอบที่ดีที่สุดที่ได้จากรูปแบบทางคณิตศาสตร์ การค้นหาแบบทาบูสามารถหาคาตอบที่ให้ค่าวัตถุประสงค์เท่ากับคาตอบที่ดีที่สุด 100 ชุดข้อมูลจาก 108 ชุดข้อมูลซึ่งคิดเป็นค่าความแตกต่างเฉลี่ย 7.41% จากค่าที่ดีที่สุดและได้ทดสอบวิธีการจัดตารางด้วยการค้นหาแบบทาบูเปรียบเทียบกับวิธีการของโรงงานกรณีศึกษา การค้นหาแบบทาบูสามารถสร้างวิธีการจัดตารางที่ให้ค่าวัตถุประสงค์เฉลี่ยที่ดีกว่าวิธีการของโรงงานกรณีศึกษาอยู่ถึง 30.2% งานวิจัยนี้ได้สร้างโปรแกรมเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ประมวลผลการจัดตารางและแสดงผลการจัดตารางซึ่งสามารถแสดงผลเป็นรูปภาพได้ ทาให้สามารถแสดงวิธีการจัดตารางที่ง่ายต่อความเข้าใจ
Other Abstract: This research focuses on developing production scheduling of a sewing process for an apparel industry to reduce the number of tardy jobs. Tabu Search is used in finding production scheduling for unrelated parallel machine with sequence dependent setup time to minimize number of tardy jobs. To evaluate the proposed methodology, the solutions from the proposed Tabu Search were compared to the optimal solutions from a mathematical model. Tabu Search found optimal solutions 100 out of 108 data sets, which is on average 7.41% deviation from optimal solutions. The comparison between the proposed Tabu Search and the current methodology from a case-study factory, shows that Tabu Search out performs the algorithm used by the factory under study by 30.2% in term of an objective function value This research also developed a program that can keep input data, evaluate input to create schedules and displays production schedule in graphical view. These make production schedule easily understandable
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17526
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1488
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1488
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krisda_Ha.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.