Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorOrawon Chailapakul-
dc.contributor.authorSukanya Viriyatanavirote-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2012-03-10T07:48:11Z-
dc.date.available2012-03-10T07:48:11Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17712-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractTo develop the simultaneous separation and detection of biomarkers including homocysteine (Hey), glutathione (GSH), and N-acety1-L-cysteine (NAC) using Poly (dimethylsiloxane) (PDMS) microchip capillary electrophoresis coupled with electrochemical detection. Pulse amperometric detection mode for microchip CE was applied to detect these biomarkers. The influences of separation voltage, detection potential, as well as the concentration and pH value of the running buffer on the response of the detector were carefully assayed and optimized. The results clearly show that the determination of homocysteine, glutathione, and N-acety1-L-cysteine by the degree of electrophoretic separation was performed in less than 2 min using a MES buffer (pH 6.0, 25 mM) and 3 mM SDS, with 1200 V separation voltage and +0.8 V detection potential. The detection limits for Hcy, GSH, and NAC were 0.129, 0.224, and 0.232 µM (S/N≥3), respectively. The results obtained should be a step towards developing an automated and reliable microchip CE-ED for clinical analysis.en
dc.description.abstractalternativeพัฒนาเทคนิคการแยกและวิเคราะห์สารประกอบไทออลหลายชนิดพร้อมกันโดยสารประกอบไทออลที่สนใจ เช่น โฮโมซิสเตอีน, กลูทาไทโอน และเอ็น-อะซีทีล แอล-ซิสเทอีน เป็นต้น ด้วยระบบไมโครชิพคะพิลลารีอิเล็กโทรฟอรีซิสร่วมกับตัวตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า ซึ่งเป็นวิธีที่มีประโยชน์และประสบความสำเร็จโดยการวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารประกอบไทออลกลุ่มนี้ด้วยเทคนิคพัลส์แอมเพอโรเมทรี ภายหลังจากที่สารประกอบไทออลเหล่านี้ผ่านการแยกด้วยระบบไมโครชิพ อิทธิพลของสนามไฟฟ้าที่ใช้แยกสารศักย์ไฟฟ้าที่ใช้ในการตรวจวัด ตลอดจนความเข้มข้นและค่าพีเอชของสารละลายบัฟเฟอร์ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการทดลองที่ต้องทกการหาภาวะที่เหมาะสม ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความเชื่อถือได้สำหรับการแยกและวิเคราะห์โฮโมซิสเตอีน, กลูทาไทโอน, และเอ็น-อะซีทิล แอล-ซิสเทอีน ซึ่งสามารถแยกจากกันได้ภายในเวลาน้อยกว่า 2 นาที โดยใช้ระบบการแยกและตรวจวัดดังนี้คือ ใช้สารละลายเอ็มอีเอสบัฟเฟอร์ (MES) (pH 6.0, ความเข้มข้น 25 มิลลิโมลาร์) และ 3 มิลลิโมลาร์ เอสดีเอส เป็นสารละลายตัวพา ทำการแยกด้วยสนามไฟฟ้า 1200 โวลต์ และศักย์ไฟฟ้าที่ใช้ตรวจวัดคือ +0.8 โวลต์ ค่าขีดต่ำสุดของการตรวจวัดของโฮโมซิสเตอี, กลูทาไทโอน, และเอ็น-อะซีทิล แอล-ซิสเทอีน เป็น 0.129, 0.224 และ 0.232 ไมโครโมลาร์ ตามลำดับ (ค่าสัญญาณกระแสต่อสัญญาณรบกวนมีค่ามากกว่าเท่ากับ 3) ในงานวิจัยนี้ได้แสดงให้เห็นถึงบทบาทและประสิทธิภาพของระบบไมโครชิพคะพิลลารีอิเล็กโทรฟอรีซิส จากผลการวิเคราะห์คาดว่าระบบไมโครชิพที่มีตัวตรวจวัดแบบเคมีไฟฟ้าที่เสนอนี้จะเป็นที่ยอมรับและสามารถนำมาเป็นวิธีทางเลือกใหม่สำหรับการวิเคราะห์ทางคลินิกได้en
dc.format.extent36275872 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleAnalysis of thiol compounds by poly(dimethylsiloxane) microchip capillary electrophoresis coupled with electrochemical detectionen
dc.title.alternativeการวิเคราะห์สารประกอบไทออลด้วยพอลิไดเมทิลไซลอกเซนไมโครชิพคะพิลลารีอิเล็กโทรฟอรีซิสร่วมกับการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePetrochemistry and Polymer Sciencees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorOrawon.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sukanya_vi.pdf35.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.