Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.authorสุนันทา ภูงามนิล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-11T07:36:43Z-
dc.date.available2012-03-11T07:36:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17734-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดปริมาณสารรังสีไอโอดีน-131 ที่ใช้งานในทางการแพทย์ในตัวอย่างน้ำทิ้ง ของโรงพยาบาลที่มีการใช้งานไอโอดีน-131จำนวนมากที่สุดพร้อมทั้ง ประเมินการได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงานบริเวณบ่อบำบัดน้ำทิ้ง โดยเลือกโรงพยาบาล จำนวน 3 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ปล่อยไอโอดีน-131 สู่บ่อบำบัดน้ำทิ้งสาธารณะโดยตรงจำนวน 2 แห่ง (โรงพยาบาล A และ B) และโรงพยาบาลที่มีบ่อพักน้ำทิ้งก่อนปล่อยสู่บ่อบำบัดน้ำทิ้งของโรงพยาบาล จำนวน 1 แห่ง (โรงพยาบาล C) ผลการวิจัยพบว่าโรงพยาบาล A และ B มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารรังสีในน้ำทิ้งหลังการบำบัดเพื่อปล่อยสู่สาธารณชนมีค่าสูงเมื่อมีการรับผู้ป่วยเข้ารับการรักษาแล้ว 2 วัน ปริมาณไอโอดีน-131ในน้ำทิ้งที่ปล่อยสู่สาธารณะมีแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาที่รับผู้ป่วยเข้ารับการรักษา โดยค่าสูงสุดและต่ำสุด จะอยู่ในวันที่รับผู้ป่วยเข้ารับการรักษาแล้ว 2 วัน และ 3 วัน ซึ่งค่าที่วิเคราะห์ได้ทั้ง 4 สัปดาห์จะอยู่ในช่วง 1.29 - 1.86 เบคเคอเรลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (โรงพยาบาลA) และ 1.65 - 1.82 เบคเคอเรลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร(โรงพยาบาล B) โรงพยาบาล C มีปริมาณไอโอดีน-131ในน้ำทิ้งที่ปล่อยสู่สาธารณชน หลังจากได้ถูกเก็บที่บ่อพัก 1 เดือน 2 เดือน และ 3 เดือน ก่อนปล่อยสู่บ่อบำบัดน้ำทิ้งรวมของโรงพยาบาล มีค่าเฉลี่ย 7.36, 3.683 และ 0.76 เบคเคอเรลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำดับ ซึ่งค่าที่ได้จากทั้งสามโรงพยาบาลมีค่าเกินเกณฑ์ปลอดภัยสำหรับของเหลว นิวไคลด์รังสีไอโอดีน-131 ซึ่งมีค่า 0.04 เบคเคอเรลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ประมาณการได้รับรังสีของผู้ทำงานบ่อบำบัดน้ำทิ้งของโรงพยาบาล A, B และ C มีค่า 5.10, 40.14 และ 8.05 ไมโครซีเวิร์ตต่อสัปดาห์ ตามลำดับ ซึ่งขีดจำกัดการได้รับรังสีของประชาชนทั่วไปมีค่า 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี หรือ 20 ไมโครซีเวิร์ตต่อสัปดาห์en
dc.description.abstractalternativeThis research aims to measure the iodine-131 nuclide in the waste water samples discharged from patients after treatment in 3 hospitals located in Bangkok area. Two of those hospitals (A and B) release their radioactive waste with iodine-131 directly to the hospital sewage while the other one (C) has a decay tank before release the radioactive waste to the hospital sewage. The results show that, hospital A and B were increased in the radioactivity level in waste water 2 days after patients were treated. The radioactivity in waste water is vary according to the duration patients remained in the hospitals. The highest and the lowest level of the radioactivity which were observed on second and on third day were in the ranges of 1.29 - 1.86 Bq/cm³ (hospital A) and 1.65 - 1.82 Bq/cm³ (hospital B). While the reduction of I-131 found in sewage from hospital C decreased accordance with storage time in decay tank. The data of hospital C was observed for 3 times, shows 7.36 Bq/cm³ (for 1 month), 3.68 Bq/cm³ (for 2 months) and 0.76 Bq/cm³ (for 3 months), which were higher than the legal clearance limit of 0.04 Bq/cm3. The estimates of effective dose received by the sewage workers, was observed in hospital A, B and C are 5.10 µSv/week, 40.14 µSv/week and 8.05 µSv/week respectively, while hospital B is higher than legal limit, however the hospital A and C are within the legal limit of 1 mSv/year or about 20 µSv/weeken
dc.format.extent2159651 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.445-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกากกัมมันตรังสีen
dc.subjectไอโอดีนกัมมันตรังสีen
dc.titleการประเมินผลกระทบจากการปล่อยกากกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 ที่ใช้งานทางการแพทย์en
dc.title.alternativeAssessment of the impact from discharged medical I-131 radioactive wasteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupitcha.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.445-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sunanta_ph.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.