Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17909
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ | - |
dc.contributor.author | วณี ออมสิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-14T14:09:03Z | - |
dc.date.available | 2012-03-14T14:09:03Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17909 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาพัฒนาการทางจริยธรรมตามทฤษฏีของโคลเบอร์กและเรสต์ ในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษา 2 กลุ่ม ที่มีเพศ ระดับชั้น และสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันโดยใช้แบบสอบเดอะดีไฟนิ่งอิชชูส์เทสต์ของเรสต์ ซึ่งพัฒนามาจากการวัดระดับจริยธรรม โดยการสัมภาษณ์ของโคลเบอร์ก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 480 คน ซึ่งสุ่มโดยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นจาก 12 โรงเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างแบ่งตามเพศ และระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม 2 ระดับ โดยใช้เกณฑ์ให้คะแนนดัชนี 3 ตัว คือ การศึกษา อาชีพ และรายได้ของบิดามารดา นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทาง ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีพัฒนาการทางจริยธรรมสูงกว่านักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนมัธยมศึกษาชายและหญิงมีพัฒนาการทางจริยธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. นักเรียนมัธยมศึกษาที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมระดับสูง และระดับต่ำมีพัฒนาการทางจริยธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. พบปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างเพศ และสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 5. พบปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างระดับชั้น เพศ และสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study moral development in Secondary Students with different sex, education level and socio-economic status according to Kohlberg and Rest's Theory by using Rest's the Defining Issues Test. Subject were 480 Mathayomsuksa two and Mathayomsuksa Five from 12 seconiary schools in Northeastern Region. They were stratified randomed with respect to sex and socioeconomic status levels by using the score criterion derived from 3 indices namely educations, occupations and incomes of their parents, Raw date were analyzed by Statistical procedures in term of Arithemetic Mean, Standard Deviation. Three Ways Analysis of Variance was utilized in testing the significance of sifferences of these statistics. The major findings of this study were as following: 1. The moral development of Mathayomsuksa five students was higher than P4athayomsuksa two students significantly. (p <.01) 2. There was no significant difference in moral development between male and female secondary students. 3. There was no significant difference in moral development between high and low socio-economic status secondary students. 4. There was a significant difference in interaction between sex and socio-economic status. (p < .05) 5. There was a significant difference in interaction among education level, sex and socio-economic status. (p <.01) | - |
dc.format.extent | 397340 bytes | - |
dc.format.extent | 1207713 bytes | - |
dc.format.extent | 503799 bytes | - |
dc.format.extent | 581276 bytes | - |
dc.format.extent | 425089 bytes | - |
dc.format.extent | 292687 bytes | - |
dc.format.extent | 698702 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | นักเรียน | en |
dc.subject | ศีลธรรมจรรยา | en |
dc.title | พัฒนาการทางจริยธรรมของนักเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | en |
dc.title.alternative | Moral development of secondary students in Northeastern region | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Puntip.S@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vanee_Om_front.pdf | 388.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_ch1.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_ch2.pdf | 491.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_ch3.pdf | 567.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_ch4.pdf | 415.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_ch5.pdf | 285.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vanee_Om_back.pdf | 682.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.