Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17913
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณราย ทรัพยะประภา-
dc.contributor.authorวงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-14T14:16:32Z-
dc.date.available2012-03-14T14:16:32Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17913-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะศึกษาผลของการฝึกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแสดงออกที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและบุคลิกภาพของศึกษาหญิง โดยมีสมมติฐานว่า 1) นักศึกษาหญิงที่ได้รับการฝึกจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านการแสดงออกที่เหมาะสมและเปลี่ยนได้มากกว่านักศึกษาหญิงที่มิได้รับการฝึก 2) นักศึกษาหญิงที่ได้รับการฝึกจะเปลี่ยนบุคลิกภาพจากแบบเก็บตัวเป็นแบบแสดงตัวมากขึ้นและมากกว่านักศึกษาหญิงที่มิได้รับการฝึก 3) นักศึกษาหญิงที่ได้รับจากฝึกจะเปลี่ยนบุคลิกภาพจากการมีไมตรีสัมพันธ์สูงเป็นการมีไมตรีสัมพันธ์ต่ำและเปลี่ยนได้มากกว่านักศึกษาหญิงที่มิได้รับการฝึกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักศึกษาหญิงคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงซึ่งมีอายุระหว่าง 18-22ปี จำนวน 30 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาเคมีปฏิบัติ 1 ประจำภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2522 กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มทดลองที่ 1 จำนวน 7 คนและกลุ่มทดลองที่ 2 จำนวน 8 คน กลุ่มทดลองได้รับการฝึกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแสดงออกสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 □(1/2) ชั่วโมง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ต่อเนื่องกันโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การให้คำแนะนำ การแสดงตัวอย่าง การแสดงบทบาทสมมุติ การซ้อมบทบาทของพฤติกรรม การให้สิ่งเสริมแรงในทางบวก การให้การบ้านตามที่กำหนดให้และการป้อนกลับโดยใช้เทปบันทึกภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมมิได้รับการฝึกใดๆ เครื่องที่ใช้ในในการวิจัยได้แก่ 1 ) “แบบสอบวัดความกล้าแสดงออกระดับวิทยาลัย” ของกาแลสซี่และคณะ 2 ) แบบสำรวจบุคลิกภาพทางด้านเก็บตัว-แสดงตัว ของชูศักด์ ชัมภลิขิต และ 3) เครื่องมือวัดค่านิยมทางไมตรีสัมพันธ์ ของ ดร. วีรยุทธ วิเชียรโชติ ทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองตอบแบบสอบทั้ง 3 ชุด ก่อนและหลักการฝึก ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยด้วย T-test ซึ่งผลของการวิจัยปรากฏว่า สนับสนุนสมมติฐานทั้ง 3 ข้อ ระดับนัยสำคัญ .01 ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า การฝึกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแสดงออกมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและบุคลิกภาพของนักศึกษาหญิง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of assertive training on behaviors and personality change of female college students. The hypothesis tested were 1) the female college students who received assertive training would increase their assertive behaviors with higher scores than those who received no training, 2) the female college students who received assertive training would change from being introvert to being extravert with higher scores than those who received no training, 3) the female college students who received assertive training would decrease their affiliative personalities with lower scores than those who received no training. The sample comprised of 30 female college students between 18-22 years of age, registere the course of Chemistry Laboratory 1 in the first semester, 1979, from the Faculty of Science, Ramkhamhaeng University. Those subjects were devided into an experimental group receiving assertive training and a control group receiving no training. The experimental group was further devided into two subgroups, with seven students in the first and eight students in the second. The training program included four sessions, met once a week for two and a half hours per session. Techniques utilized in the training included coaching instruction, modeling, role-playing, behavior rehearsal, positive re¬inforcement, homework assignment and videotaped feedback. The College Self Expression Scale (Galassi, et al.), the Introvert-Extra¬vert Personality Inventory (Chusak Khampalikit), and the Affiliative Test (Weerayudh Wichiarjote) were used to assess assertive behaviors and personalities, respectively. Pretest-posttest control group design was assigned as statistical procedure. The three hypotheses were all tested by t-test at the .01 level of significance. The results supported all of them. It can further concluded that assertive training may be more effective in increasing assertive behaviors and in personality change for the female college students.-
dc.format.extent352790 bytes-
dc.format.extent526621 bytes-
dc.format.extent2124378 bytes-
dc.format.extent587448 bytes-
dc.format.extent507022 bytes-
dc.format.extent315826 bytes-
dc.format.extent1095253 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพฤติกรรมมนุษย์en
dc.titleผลของการฝึกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแสดงออก ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและบุคลิกภาพของนักศึกษาหญิงen
dc.title.alternativeThe effects of assertive training on behaviors and personality change of female college studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParanrai.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vongphak_Po_front.pdf344.52 kBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_ch1.pdf514.28 kBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_ch2.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_ch3.pdf573.68 kBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_ch4.pdf495.14 kBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_ch5.pdf308.42 kBAdobe PDFView/Open
Vongphak_Po_back.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.