Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorกันยา สุนทรารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-15T13:55:39Z-
dc.date.available2012-03-15T13:55:39Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745624527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการที่จะพัฒนาชนบทไทยให้ชาวชนบทมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทางหนึ่งคือ การจัดตั้งสหกรณ์ เพราะงานสหกรณ์เป็นงานที่มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับประเทศไทยในอันที่จะใช้เป็นเครื่องมือสำหรับแก้ไขความเป็นอยู่ของชาวชนบทให้มีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การที่จะให้ชาวชนบทไทยมีความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจแบบโดดเดี่ยวมามีความเป็นอยู่ในรูปกลุ่มย่อยเป็นเรื่องยาก ต้องมีแนวความคิดใหม่ ๆ ที่เขาเห็นว่ามีประโยชน์กว่าของเดิม จึงจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการศึกษาเพื่อให้ประชาชนรับแนวคิดใหม่ ๆ คือ การติดต่อสื่อสารความหมาย การสื่อความหมายที่ดีก็คือการสื่อการสื่อความหมายที่มีลักษณะเป็นบุคคลเพียงไร ย่อมจะเกิดผลจูงใจให้เกิดการยอมรับได้มากเพียงนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของการสื่อสาระระหว่างบุคคลที่มีผลต่อการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกของสหกรณ์โคนมหนองโพ โดยศึกษาความสำคัญของสื่อบุคคลประเภทต่าง ๆ ที่มีผลต่อการยอมรับกลวิธีการสื่อสารที่มีผลต่อการยอมรับและปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อระยะเวลาในการตกลงใจยอมรับเข้าสมาชิกสหกรณ์ โดยทำการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกสหกรณ์โคนมหนองโพ จำนวน 170 ราย ที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ในตำบลหนองโพ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ และทำการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์จากแบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์นั้นใช้การหาค่าร้อยละ ไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Partial Correlation การศึกษาเรื่องนี้พิสูจน์สมมุติฐาน 5 ข้อคือ 1.สมาชิกสหกรณ์โคนมจะมีการเปิดรับสื่อมากกว่า 1 ประเภท 2.การรับสารเกี่ยวกับโคนมผ่านทางสื่อบุคคลและสื่อมวลชนมีผลต่อการยองรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์ในเวลาที่แตกต่างกัน 3.สื่อบุคคลแต่ละประเภท มีผลต่อการตกลงใจยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์ตามระยะเวลาที่แตกต่างกัน โดยที่การสื่อสารภายในกลุ่มเพื่อที่มีอาชีพเดียวกันมีผลต่อการยองรับเร็วที่สุด 4.การประชุมกลุ่มเป็นกลวิธีการสื่อสารที่มีผลต่อการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์โคนมเร็วกว่าวิธีสื่อสารแบบอื่น 5.ปัจจัยอื่น ๆ นอกเหนือไปจากการสื่อสารระหว่างบุคคล คือ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์ ผลจากการวิจัย พบว่าส่วนใหญ่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ คือสมาชิกสหกรณ์ทุกคนได้รับการเผยแพร่ข่าวสารจากสื่อมากกว่า 1 ประเภทขึ้นไป การรับสารเกี่ยวกับสหกรณ์โคนมผ่านทางสื่อบุคคลมีผลต่อการตกลงใจยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์มากกว่าผ่านทางสื่อมวลชน อย่างไรก็ตาม พบว่าสื่อวิทยุเป็นสื่ออีกอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการยอมรับเช่นเดียวกับการสื่อสารระหว่างบุคคล นอกจากนี้การสื่อสารภายในกลุ่มเพื่อที่มีอาชีพเดียวกันมีผลต่อการยอมรับมากที่สุด และเพื่อนบ้านมีความสำคัญรองลงมา ส่วนกลวิธีการสื่อสารแบบประชุมกลุ่มเป็นการสื่อสารที่จูงใจให้ยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์มากกว่าการสื่อสารแบบอื่น ส่วนปัจจัยอื่น ๆ นอกเหนือไปจากการสื่อสารระหว่างบุคคล คือปัจจัยในเรื่องอายุการศึกษาของสมาชิกมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์ แต่ปัจจัยในเรื่องสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เพศ สถานภาพการสมรส การเปิดรับสื่อมวลชน คือหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ไม่มีความสัมพันธ์ในเรื่องระยะเวลาที่ตกลงใจยอมรับเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์-
dc.description.abstractalternativeTo improve the living standard of farmers, the setting up of cooperatives can help in one way, as it has been found that cooperatives have played an important part in upgrading the economic status of farmers. However, it is not easy to convince the farmers who have been living with primitive and isolated economy for a long time to join the group. New ideas which they think are more useful are required. One means to help educate people to accept new ideas or changes is communication. The more interpersonal communication is used, the more people will adopt innovations. The main objectives of this research are to study the role of interpersonal communication on the adoption of Nong Pho Dairy Cooperative in Ratchaburi province. Secondly, to study differential characteristics of each categorized interpersonal medium affecting membership of Nong Pho Dairy Cooperative. Thirdly, to explore interpersonal communication strategies on the adoption and lastly, to study other related factors affecting time of the decision adoption. The target group of this study is 170 members of Nong Pho Dairy Cooperative who are living in Nong Pho district, Ratchaburi province. The research design was a descriptive type made through a field survey and 170 interviewed questionnaires were used. Data analysis was done by using percentage, chi-square test and partial correlation as statistical technique. This study aims at testing the following hypotheses. 1.All members of the Nong Pho Dairy Cooperative are exposed to at least one communication medium. 2.New and information on dairy cooperative disseminated through interpersonal communication has more effect on the adoption of the Cooperative than mass media. 3.Each category of interpersonal media has different effect on the adoption, that is, interpersonal communication among groups of the same occupation has the most effect on the adoption. 4.Group briefing has more effect on the adoption than other interpersonal communication strategies. 5.Apart from interpersonal communication, other related factors like economic and social status are correlated with time of membership decision. The results of this study support four of the hypotheses which are accepted. More details of the study can be summed up as follows: All of the members receive news and information on dairy cooperative from several channels. News and information received through interpersonal communication has more effect on the adoption than mass media. However, the study shows that radio medium also affects the adoption. In addition, contacts with groups of the same occupation and neighbors have effect on the adoption respectively. As for interpersonal communication strategies, group briefing has shown the most influential medium among other three forms of interpersonal communication which include personal contacts, visiting at homes, and informing by letters. Other related factors, apart from interpersonal communication, namely, age and education factors are positively correlated with time of adoption decision. Economic and social status, sex, marital status, media exposure which include newspaper, radio, and television are not correlated with the time of adoption decision.-
dc.format.extent608687 bytes-
dc.format.extent374919 bytes-
dc.format.extent700235 bytes-
dc.format.extent268593 bytes-
dc.format.extent427601 bytes-
dc.format.extent443416 bytes-
dc.format.extent1104123 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectสหกรณ์โคนมหนองโพ ราชบุรี จำกัดen
dc.titleบทบาทการสื่อสารระหว่างบุคคล ที่มีผลต่อการยอมรับเข้าเป็น สมาชิกสหกรณ์โคนมหนองโพ จังหวัดราชบุรีen
dc.title.alternativeThe role of interpersonal communication on becoming members of Nong Pho Dairy Cooperative in Ratchaburi Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.b@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanya_Su_front.pdf594.42 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_ch1.pdf366.13 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_ch2.pdf683.82 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_ch3.pdf262.3 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_ch4.pdf417.58 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_ch5.pdf433.02 kBAdobe PDFView/Open
Kanya_Su_back.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.