Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมา-
dc.contributor.authorรุจิรา อุไรพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-17T02:34:40Z-
dc.date.available2012-03-17T02:34:40Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18045-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงค่าความชื้น ของเม็ดพลาสติกคอมพาวด์ที่ใช้ สาหรับผลิตงานท่อที่เกิดจากกระบวนการผสมเม็ดพลาสติกกับสารเติมแต่งและการบรรจุภัณฑ์ โดยนำ วิธีการตามแนวทางซิกซ์ ซิกม่า มาประยุกต์ใช้ปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อศึกษาหาปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อค่าความชื้นดังกล่าว และหาเงื่อนไขที่เหมาะสมของปัจจัยในการผลิตที่จะทำให้ปริมาณ ค่าความชื้น อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสม โดยหน่วยวัดผลระดับการปรับปรุงของการวิจัยที่ กำหนดคือ ปริมาณค่าความชื้นของเม็ดพลาสติกคอมพาวด์ที่ลดลง ซึ่งก่อนการปรับปรุง กระบวนการผลิตค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 440 PPM หรือ 440 mg[superscript 3]/kg หรือ 0.044% สาหรับขั้นตอนการวิจัยจะดาเนินตามขั้นตอนตามวิธีการทางซิกซ์ ซิกม่า ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การนิยามปัญหา การวัดเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ และ การควบคุมกระบวนการผลิตตามลำดับ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ของ กระบวนการ คือ สามารถกำหนดค่าของระดับของปัจจัยนำเข้าที่ส่งผลต่อค่าความชื้นของเม็ดพลาสติก คอมพาวด์ในกระบวนการผสมเม็ดพลาสติกกับสารเติมแต่งและการบรรจุภัณฑ์อย่างมีนัยสำคัญ จากการดำเนินโครงการการนำระดับของแต่ละปัจจัย มาทำการออกแบบการทดลอง ใน ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ แล้วนำไปวิเคราะห์หาระดับที่เหมาะสมของการปรับค่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำให้ได้ค่าความชื้นของเม็ดพลาสติกคอมพาวด์เข้าใกล้ค่าของข้อกำหนดมาก ที่สุดที่สามารถทำได้ ผลจากการปรับปรุง พบว่า ค่าเฉลี่ยของค่าความชื้นของเม็ดพลาสติก คอมพาวด์ลดลงเหลือเพียง 334.15 PPM หรือ 334.15 mg[superscript 3]//kg หรือ 0.033% ซึ่งบรรลุตาม เป้าหมายที่กำหนดไว้en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to improve the moisture content for pipe product in compounding and packaging processes by Six Sigma Approach. Six Sigma Approach is applied not only to study the factors influencing the moisture content of plastic compounding and the product specification limit, but also to identify the appropriate operative conditions for improvement. The efficient improvement is measure by the reduction of moisture content in Part Per Million (PPM) unit. The current process has 440 PPM or 440 mg[superscript 3]//kg or 0.044 percent. The study has been proceeded according to the five-phase improvement models of Six Sigma methodology. The process begins with defining phase, measuring phase, analyzing phase, improving phase and controlling phase respectively. The results of the process is to determine KPIVs that significantly effect to decrease moisture content in compounding and packaging process. The KPIVs have been used to perform and experiment with response surface in improvement phase. It was found that the average rate of moisture content was decreased to 334.15 PPM or 334.15 mg[superscript 3]//kg or 0.033 and improvement was achieveden
dc.format.extent6255857 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1029-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพลาสติก -- ความชื้นen
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)en
dc.titleการปรับปรุงค่าความชื้นของเม็ดพลาสติกคอมพาวด์ในกระบวนการผสมเม็ดพลาสติกกับสารเติมแต่งและการบรรจุภัณฑ์โดยใช้แนวทางซิกซ์ซิกม่าen
dc.title.alternativeMoisture content improvement of plastic compound in compounding and packaging processes by six sigma approachen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParames.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1029-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rujira_ur.pdf6.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.