Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18051
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาณัติ เรืองรัศมี-
dc.contributor.authorศิริชัย อังคสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-17T02:53:47Z-
dc.date.available2012-03-17T02:53:47Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18051-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้เกิดสึนามิตามแนวชายฝั่งตะวันตกของประเทศไทยทำให้มีผู้เสียชีวิตและสูญหายเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้นยังสร้างความเสียหายให้กับโครงสร้างทาง วิศวกรรมเป็นอย่างมาก เพื่อศึกษาและบรรเทาความเสียหายของอาคาร การศึกษานี้จึงวิเคราะห์ หารูปแบบความเสียหาย การกระจายแรงในชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงสร้างและความสามารถในการ รับแรงด้านข้างของอาคารซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบอาคารในเขตเสี่ยงภัยสึนามิ โดย งานวิจัยนี้ได้ทำการวิเคราะห์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงกระทำเนื่องจากสึนามิ ในการ วิเคราะห์แบบจำลองอาคารได้พิจารณาอาคารเป็นโครงข้อแข็ง 3 มิติ และใช้แบบจำลองไฟเบอร์ ในการจำลองชิ้นส่วนขององค์อาคารที่มีพฤติกรรมแบบไม่เชิงเส้น จากการสอบเทียบแบบจำลองกับผลการทดสอบพบความคลาดเคลื่อนของสติฟเนสมี ค่าประมาณ 2-28% และความคลาดเคลื่อนของระยะการเคลื่อนตัวสูงสุดมีค่าประมาณ 1-30% จากการศึกษาพฤติกรรมของอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกมลาซึ่งเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยทำการวิเคราะห์โครงข้อแข็ง 2 แนว คือแนวตั้งฉากกับแนวแรงกับแนวที่ขนานกับแนวแรงจาก การวิเคราะห์โครงข้อแข็งในแนวขนานกับแนวแรงที่พิจารณาผลของกำแพงอิฐก่อและไม่พิจารณา ผลของกำแพงอิฐก่อพบว่า โครงข้อแข็งที่ไม่พิจารณาผลของกำแพงอิฐก่อสามารถรับแรงสูงสุดได้ เท่ากับ 16 kN โครงข้อแข็งที่พิจารณาผลของกำแพงอิฐก่อสามารถรับแรงได้เท่ากับ 360 kN โดย กำแพงอิฐก่อจะมีจะสามารถในการรับแรงประมาณ 95 % ของกำลังในการรับแรงด้านของโครง ข้อแข็ง จากการวิเคราะห์โครงข้อแข็งในแนวตั้งฉากกับแนวแรงพบว่าโครงข้อแข็งสามารถรับแรงได้ เท่ากับ 33 kN โดยแรงที่กระทำกับโครงสร้างที่คำนวณได้จากมาตรฐานฐานกรมโยธาธิการและผัง เมือง 1312-51 มีค่าเท่ากับ 93 kN ซึ่งมีค่ามากกว่ากำลังต้านทานตามขวางของโครงข้อแข็งen
dc.description.abstractalternativeThe December 26th, 2004 tsunami killed many people and caused serious damage to civil engineering structures in the western costal of Thailand. To study and reduce the damage of buildings, this study analyses damage patterns, load distribution in structural members and the lateral resistance of buildings. In this research, the reinforced-concrete buildings are analyzed under tsunami loads. The building models are treated as 3-dimensional frames, and fiber models are used to capture non-linear behaviors of structural members. The building models are calibrated with results of the lateral field load test conducted on the one-story reinforced-concrete building which is the former office of Thai Meteorological Department in Phang-Nga. From the calibration, the errors of stiffness are about 2% - 28%, and the errors of the maximum deformation are about 1% - 30%. This research studies behaviors of the Kamala nursery building by treating as 2-dimensional frames. Two frames, which are parallel and perpendicular to the tsunami flow frames, are considered. The frame parallel to the tsunami flow is analyzed with and without masonry infilled walls. It is found that the maximum lateral resisting force of the frame without masonry infilled walls is 16 kN while that with masonry infilled walls is 360 kN. It is interesting to note that the masonry infilled walls resist 95% of lateral force. The resistance of the frame perpendicular to the tsunami flow is 33 kN. The force predicted from the guideline by Department of Public Works and Town Planning is found to be 93 kN which is larger than the transverse resistance of the frameen
dc.format.extent3133464 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.910-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสึนามิen
dc.subjectอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กen
dc.subjectความเครียดและความเค้นen
dc.subjectแรงen
dc.subjectคลื่นen
dc.titleผลตอบสนองของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงสึนามิen
dc.title.alternativeResponse of reinforced concrete buildings under Tsunami loadsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcearr@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.910-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirichai_an.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.