Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18127
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ | - |
dc.contributor.author | ชนิดา ประชาศิลป์ชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-17T11:36:44Z | - |
dc.date.available | 2012-03-17T11:36:44Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18127 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปลักษณะของโคมสะท้อนแสงธรรมชาติที่มีผลต่อประสิทธิภาพของแสงภายในห้องแสดงภาพศิลปะในกรุงเทพมหานคร โดยทำการศึกษาตัวแปร 2 ตัวแปร คือ 1.ตัวแปรด้านรูปลักษณะโคมทั้งสิ้น 4 แบบ ได้แก่ ลักษณะตรง ลักษณะโค้งคว่ำ ลักษณะโค้งปีกนก และลักษณะโค้งหงาย 2.ตัวแปรด้านคุณสมบัติทางพื้นผิวของโคม ได้แก่ พื้นผิวเรียบแบบโลหะเงา พื้นผิวเรียบแบบโลหะด้าน และพื้นผิวหยาบด้าน ทำการทดสอบประสิทธิภาพภายในพื้นที่ทดลองขนาด 10x12 ม. ความสูงรวม 9 ม.ด้วยหุ่นจำลองมาตราส่วน 1:20 ในวันที่ 21 มิ.ย. 21 ก.ย. และ 21 ธ.ค. เวลา 9.00-12.00 น. ภายใต้สภาพท้องฟ้าโปร่ง ผลการทดลองพบว่าโคมสะท้อนแสงทุกแบบสามารถลดความเข้มของแสงที่ระนาบพื้น ณ ตำแหน่งที่มีปริมาณแสงสูงสุดในแต่ละวันลงได้ 91.97-99.47% โดยโคมลักษณะโค้งหงายที่มีเรียบแบบโลหะเงาให้ระดับความส่องสว่างภายในสูงสุดในวันที่ 21 มิ.ย. และสามารถลดความเข้มของแสงที่ระนาบผนังทิศเหนือ ณ ตำแหน่งที่มีปริมาณแสงสูงสุดในแต่ละวันลงได้ 86.96-98.38% ผนังทิศใต้ 85.26-89.22% โดยโคมลักษณะโค้งหงายที่มีผิวเรียบแบบโลหะเงาให้ระดับความส่องสว่างภายในสูงสุด ที่ผนังทิศเหนือในวันที่ 21 มิ.ย. ทิศใต้ในวันที่ 21 ก.ย.ผลงานวิจัยสามารถสรุปได้ว่าประสิทธิภาพของแสงภายในขึ้นกับรูปลักษณะของโคมสะท้อนแสง โดยที่คุณสมบัติทางพื้นผิวของวัสดุจะส่งผลให้โคมเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถในการนำพาแสงเข้าสู่ภายใน นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งโคมสะท้อนแสงธรรมชาติสำหรับห้องแสดงภาพศิลปะออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.โคมที่เหมาะกับพื้นที่จัดแสดงภาพความสูงไม่เกิน 3.75 ม. ได้แก่ โคมตรง โคมโค้ง โคมโค้งปีกนก 2.โคมที่เหมาะกับพื้นที่จัดแสดงภาพความสูงไม่เกิน 5.15 ม. ได้แก่ โคมโค้งหงาย ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนารูปแบบของโคมสะท้อนธรรมชาติสำหรับห้องแสดงภาพศิลปะในกรุงเทพมหานครต่อไปได้ | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study daylighting reflector designs that affect lighting performance in Bangkok art galleries. This research examines two factors: reflector configuration and surface characteristics. Patterns of configurations under study are flat, curve, gull wings, and a pair of upward-curving wings; while surface characteristics include: polished surface, unpolished surface, and matte surface. The experiment was conducted in a 1:20 model of a 10m x 12m space with a height of 9m on 21 June, 21 September, and 21 December during 9.00–12.00 am, under a clear sky. The research reveals that all kinds of daylighting reflector configurations can reduce light intensity at the highest illuminated spot on the floor-plane by 91.97-99.47% on all the three days of the experiment. The upward-curving-wings configuration with polished surface gives highest illuminance value on 21 June and decreases light intensity on the north wall-plane by 86.96–98.38% and 85.26–89.22% on the south wall-plane. It gives highest illuminance value on the north wall-plane on 21 June and on the south wall-plane on 21 September. From this research, it can be concluded that efficacy of daylighting reflector in manipulating direct light for art galleries depends on both reflector configurations and surface characteristics will affect on changing light levels coming into galleries. In addition, it is found that under the testing conditions, flat reflector, curve reflector, and gull wings reflector produce desirable illuminance for wall space lower than 3.75m, while the upward-curving wings reflectors provide optimal lighting effect for wall space lower than 5.15m. These findings can be employed in designing daylighting reflector configurations to optimize lighting effects for art galleries. | en |
dc.format.extent | 11880333 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1495 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การให้แสงธรรมชาติ | |
dc.subject | การให้แสงทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง | |
dc.subject | ห้องแสดงภาพศิลปะ -- แสงสว่าง | |
dc.subject | Daylighting | |
dc.subject | Lighting, Architectural and decorative | |
dc.subject | Art gallery -- Lighting | |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบรูปลักษณะโคมสะท้อนแสงธรรมชาติต่อประสิทธิภาพของแสง กรณีศึกษาห้องแสดงภาพศิลปะในกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Comparative study of daylighting reflector configuration on lighting performance : a pilot study of art gallery in Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Vorapat.I@Chula.ac.th, ivorapat@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1495 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chanida_pr.pdf | 11.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.