Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทุมพร ทองอุไทย-
dc.contributor.authorนงนุช เศวตพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-22T15:11:44Z-
dc.date.available2012-03-22T15:11:44Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18387-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบการตรวจสอบด้วยค่าทีและค่าเอฟในปัญหาทางการศึกษา โดยศึกษาเปรียบเทียบประวัติพัฒนาการทางคณิตศาสตร์ของค่าสถิติทั้งสอง ตลอดจนการนำค่าสถิติทีและเอฟไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทางการศึกษาในประเทศไทย ได้ข้อค้นพบสำคัญต่อไปนี้ ฟังก์ชันเดนซิตี้ของการแจกแจงทีจะเปลี่ยนแปลงตามขั้นความเป็นอิสระ ( √ ) ในขณะที่ฟังก์ชันเดนซิตี้ของการแจกแจงเอฟเปลี่ยนแปลงไปตามขั้นความเป็นอิสระที่แตกต่างกัน 2 ชนิด ( √ 1 , √ 2 ) การแจกแจงทีสมมาตรและมีพิสัยตั้งแต่ - ∞ ถึง + ∞ การแจกแจงเอฟมีพิสัยตั้งแต่ 0 ถึง + ∞ ค่าสถิติและค่าสถิติเอฟสามารถใช้แทนกันได้ในการประมาณค่า ละทดสอบสมมุติฐานทางสถิติเกี่ยวกับพารามีเตอร์ของ 1 กลุ่ม หรือ 2 กลุ่ม เปรียบเทียบกันดังต่อไปนี้ : มัชฌิมเลขคณิตของประชากร สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สัมประสิทธิ์การถดถอย ค่าสถิติที่ใช้ประมาณค่าและทดสอบสมมุติฐานของพารามีเตอร์คือความแปรปรวนของ 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน และความถดถอยเชิงเส้นตรง ส่วนค่าสถิติเอฟใช้ประมาณค่าและทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับการเปรียบเทียบมัชฌิมเลขคณิตของหลายกลุ่ม ความแปรปรวนสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ อัตราส่วนสหสัมพันธ์ สัมประสิทธิ์เชิงเส้นตรง และไม่ใช่เส้นตรง ในการพิจารณานำค่าสถิติทีและเอฟมาตรวจสอบข้อมูลโดยสุ่มงานวิจัยทางการศึกษามา 124 การทดสอบ พบว่า ใช้ค่าสถิติทีตรวจสอบพารามีเตอร์เกี่ยวกับมัชฌิมเลขคณิตของประชากร 60 การทดสอบ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 6 การทดสอบ ค่าสถิติเอฟใช้ตรวจสอบความแปรปรวน 7 การทดสอบ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ 10 การทดสอบ อัตราส่วนสหสัมพันธ์ 1 การทดสอบ สัมประสิทธิ์ออโธโกนัล โพลีโนเมียล 1 การทดสอบ และมัชฌิมเลขคณิตของประชากรหลายกลุ่ม 39 การทดสอบ ในการประเมินผลงานวิจัยที่สุ่มมาตามความถูกต้องเหมาะสมในการนำค่าสถิติทั้งสองมาใช้วิเคราะห์ข้อมูล พบว่ามี 43 การทดสอบ จาก 124 การทดสอบที่นำมาใช้ได้ถูกต้องเหมาะสม 76 การทดสอบพอใช้ได้ และ 5 การทดสอบใช้ไม่ได้-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to compare the t and F statistical tests with respect to their mathematical development and application to educational problems in Thailand. The major findings are as follows: The density function of t statistic varies with two different types of degree of freedom. The t-distribution is symmetric ranging from - ∞ to + ∞, the F-distribution gradually changes reversed J curve to symmetry when the degree of freedom approaches ∞. Its range is from 0 to + ∞. The t and F statistics can be applied interchangeably to estimate and test hypotheses relating to one or two groups comparison of the following parameters arithmetic mean, correlation coefficient and regression coefficient. The t statistic is used to estimate and test the hypotheses of these parameters; variance of two related groups and the linear regression line; while the F-statistic is used to test the hypotheses of several groups comparison, variance, proportion, multiple correlation ratio, linear and non linear coefficient. The application of the t and F statistics to educational problem is done by sampling educational problem testing randomly 124 times in Thailand. The t-statistic is applied to 60 problems concerning the arithmetic mean, and 6 problems of correlation coefficients. The F statistic is applied to 7 problems concerning the variance, 10 problems of polynomial coefficient, 1 problem of the orthogonal polynomial coefficient, 1 problem of the correlation ratio, and 39 problems of the arithmetic mean of several groups. The evaluation of these testings are reported relevant to how appropriate these two statistics are used to analyze the data. Only 43 out of 124 times are considered good, 76 times are poor; and 5 times are very poor.-
dc.format.extent339420 bytes-
dc.format.extent318694 bytes-
dc.format.extent259483 bytes-
dc.format.extent1805373 bytes-
dc.format.extent280202 bytes-
dc.format.extent377146 bytes-
dc.format.extent1818542 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษา -- วิจัยen
dc.titleการเปรียบเทียบการตรวจสอบด้วยค่าที และ ค่าเอฟ ในปัญหาทางการศึกษาen
dc.title.alternativeA comparison of T-test and F-test on educational problemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nongnuch_Sa_front.pdf331.46 kBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_ch1.pdf311.22 kBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_ch2.pdf253.4 kBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_ch3.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_ch4.pdf273.63 kBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_ch5.pdf368.31 kBAdobe PDFView/Open
Nongnuch_Sa_back.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.