Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18422
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีระ จิรโสภณ | - |
dc.contributor.author | นภดล วรรธนาคม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | สมุทรสาคร | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-22T22:38:52Z | - |
dc.date.available | 2012-03-22T22:38:52Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.isbn | 9745662925 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18422 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อมวลชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในโครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 139 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ เช่น การเปิดรับสื่อมวลชน พฤติกรรมการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ความน่าเชื่อถือของผู้สอน ระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ และสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมของผู้เรียน กับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือในโครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การเปิดรับสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 2. ความบ่อยครั้งในการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 3. ระยะเวลาเข้าร่วมโครงการฯ ของผู้เรียนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 4. ระยะเวลาในการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนแต่ละครั้งมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 5. ลักษณะการมีส่วนร่วมในการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 6. ความน่าเชื่อถือของผู้สอนที่รับรู้โดยผู้เรียนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ 7. สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้เรียนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ ดังนี้คือ 7.1 เพศชายมีแนวโน้มที่จะมีสัมฤทธิผลของการรู้หนังสือมากกว่าเพศหญิง 7.2 ผู้มีอายุน้อยมีแนวโน้มที่จะมีสัมฤทธิผลของการรู้หนังสือมากกว่าผู้สูงอายุกว่า 7.3 ผู้มีรายได้สูงกว่ามีแนวโน้มที่จะมีสัมฤทธิผลของการรู้หนังสือมากกว่าผู้มีรายได้ต่ำกว่า ผลการวิจัยที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ทุกประการ และได้แสดงให้เห็นว่าปัจจัยทางด้านการสื่อสารทั้งการสื่อสารมวลชนและการสื่อสารระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์อย่างสอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ของการรู้หนังสือ | - |
dc.description.abstractalternative | The main purpose of this research is to study the relationships between communication factors and the literacy achievement. This study was conducted in Amphoe Ban Paew Samut Sakhon Province where the National Literacy Campaign has been operated. One hundred and thirty nine subjects were interviewed to collect data for this study. The major results of this study are as follows. 1. There is a positive relationship between mass media exposure and literacy achievement. 2. There is a positive relationship between the frequency of teacher-learner interaction and literacy achievement. 3. There is a positive relationship between the period of participation in the National Literacy Campaign Project and literacy achievement. 4. There is a positive relationship between the duration of teacher-learner interaction and literacy achievement. 5. There is a positive relationship between the communication participation and literacy achievement. 6. There is a positive relationship between the teacher’s credibility and literacy achievement. 7. The relationships between learner’s socio-economic status and literacy achievement are as follows: - Males are more likely to have higher literacy achievement than females. - Young people are more likely to have higher literacy achievement than old ones. - Learners with higher income are more likely to have greater literacy achievement than those who have lower income. Results from this study confirm all the research hypotheses. They show that the communication factors, both mass communication and interpersonal communication, have a significant relationship with the literacy achievement. | - |
dc.format.extent | 340843 bytes | - |
dc.format.extent | 355814 bytes | - |
dc.format.extent | 477736 bytes | - |
dc.format.extent | 313633 bytes | - |
dc.format.extent | 440081 bytes | - |
dc.format.extent | 349858 bytes | - |
dc.format.extent | 801638 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสื่อสาร | en |
dc.subject | โครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการสื่อสารกับผลสัมฤทธิ์ ของการรู้หนังสือ : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ ในอำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร | en |
dc.title.alternative | Relationships between communication factors and literacy achievement: a case study of the national literacy campaign project in Amphoe Ban Phaeo Samut Sakhon Province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pira.C@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nopadol_Wa_front.pdf | 332.85 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_ch1.pdf | 347.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_ch2.pdf | 466.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_ch3.pdf | 306.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_ch4.pdf | 429.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_ch5.pdf | 341.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nopadol_Wa_back.pdf | 782.85 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.