Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์ศรี แย้มนัดดา-
dc.contributor.authorนภาพรรณ โอวัฒนากิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-23T12:42:05Z-
dc.date.available2012-03-23T12:42:05Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18445-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงก์เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องพระวรุณในวรรณคดีสันสกฤต ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกมา จนกระทั่งถึงสมัยปุราณะ โดยรวบรวมศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากวรรณดคีสมัยต่าง ๆ โดยเฉพาะคัมภีร์ฤคเวท คัมภีร์มหาภารตะ รามายณะ และคัมภีร์ปุราณะฉบับต่างๆ เนื้อหาของวิทยานิพนธ์แบ่งออกเป็น 4 บท บทแรกเป็นบทนำ ซึ่งกล่าวถึงหัวข้อวิทยานิพนธ์ตลอดจนวิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 2 ว่าด้วยเรื่องประวัติความเป็นมาของพระวรุณในสมัยต่าง ๆ ในแต่ละสมัยนั้นศึกษาแนวความคิดด้านกำเนิดครอบครัว ที่อยู่ บทที่ 3 ว่าด้วยเรื่องบทบาทและลักษณะของพระวรุณ บทที่ 4 เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะการวิจัยทำให้ทราบว่าในวรรณคดีพระเวทเริ่มแรกนั้น พระวรุณเป็นจอมเทพผู้ยิ่งใหญ่แห่งจักรวาล และพิทักษ์รักษากฎแห่งฤตอันเป็นลักษณะทางด้านธรรมจรรยามากกว่าที่จะเป็นการเชิดชูอำนาจอย่างกับเทพเจ้าอื่น ๆ บางองค์ ครั้นต่อมาในสมัยคัมภีร์รามายณะ คัมภีร์มหาภารตะ และสมัยปุราณะ ชาวอารยันหันมาเคารพนับถือเทพเจ้าสูงสุด 3 องค์ กล่าวคือ พระพรหม พระศิวะ และพระวิษณุ ยังผลให้พระวรุณผู้เคยเป็นเทพเจ้าแห่งจักรวาลที่มีมหิทธานุภาพยิ่งนัก กลับต้องอยู่ในฐานะรองลงมา โดยการที่พระองค์ได้รับการสถาปนาจากเทพผู้มีฤทธานุภาพหลายฝ่ายเป็นเพียงเทพเจ้าแห่งน้ำ ทะเล และมหาสมุทร และโลกบาลประจำทิศตะวันตกเท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the ideas on the God Varuna in Sanskrit literature from the most remote period to the time of the Purānas. The sources from which data are collected include the Rgveda, Mahābhārata, the Rāmāyana and the Purānas. The thesis is divided into 4 chapters, the first is introductory, stating the topic of the thesis and the research method adopted. The second chapter describes the more important personalities of Varuna, and also his birth, abode and family. The third chapter gives the roles and characteristics of the God. The fourth chapter gives a conclusion and suggestion for further research. It is found that Varuna in the Vedic literature is one of the most important gods in the entire universe. His main function as the protector of Rta, which may be described as the cosmic law of the Vedic world, is more developed in the moral than in the physical aspect. In the Mahābhārata, Rāmāyana and Purānas, he is reduced to an unimportant position of the god of the ocean. The worship once due to him is then transferred to the mew Hindu triad---Brahma, Siva and Visnu---instead. Apart from being the god of the ocean, he is also a Lokapāla or world-protector whose proper realm lies in the West.-
dc.format.extent370260 bytes-
dc.format.extent492013 bytes-
dc.format.extent2316382 bytes-
dc.format.extent2550869 bytes-
dc.format.extent253353 bytes-
dc.format.extent405443 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพระวรุณen
dc.titleแนวคิดเรื่องพระวรุณในวรรณคดีสันสกฤตen
dc.title.alternativeConcept of varuna in the sanskrit literatureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาตะวันออกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napapan_Ow_front.pdf361.58 kBAdobe PDFView/Open
Napapan_Ow_ch1.pdf480.48 kBAdobe PDFView/Open
Napapan_Ow_ch2.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Napapan_Ow_ch3.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Napapan_Ow_ch4.pdf247.42 kBAdobe PDFView/Open
Napapan_Ow_back.pdf395.94 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.