Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พิศาลบุตร-
dc.contributor.authorทิฆัมพร มัจฉาชีพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-24T03:55:02Z-
dc.date.available2012-03-24T03:55:02Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745649333-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18489-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาบทบาทของสตรีไทยในการให้บริการด้านการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ และเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของสตรีไทยในการให้บริการทางด้านนี้ตามการรับรู้ของตนเองกับความคาดหวังของผู้รับบริการ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงพรรณา คือการวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีจำนวน 732 คน ซึ่งประกอบด้วยสตรีผู้ให้บริการด้านการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ จำนวน 193 คน และผู้รับบริการ 539 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายจากโรงพยาบาลของรัฐบาล 4 สังกัดๆละ 1 โรงพยาบาล คือ โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลราชวิถี วชิรพยาบาล และโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสำรวจเป็นแบบสอบถามเลือกตอบแบบมาตราส่วนประเมินค่า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น 2 ชุด สำหรับสตรีผู้ให้บริการและผู้รับบริการ มีชุดละ 40 ข้อ ซึ่งมีเนื้อหาของแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของสตรีในการให้บริการด้านการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพเหมือนกัน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของสตรีผู้ให้บริการทางด้านการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพตามการรับรู้ของตนเองอยู่ในระดับมาก 33 เรื่อง มีเพียง 7 เรื่อง เท่านั้นที่อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนผู้รับบริการนั้นมีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของสตรีผู้ให้บริการทางด้านนี้อยู่ในระดับมากทั้ง 40 เรื่อง และเมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของสตรี และความคาดหวังของผู้รับบริการทางด้านนี้เป็นรายข้อ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 14 เรื่อง นอกนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 26 เรื่อง และเรื่องที่มีความแตกต่างกันมากคือ การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนล่วงหน้าก่อนที่จะมีการระบาดของโรคต่างๆ ตามฤดูกาล และการให้คำแนะนำเกี่ยวกับเอกสารหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ซึ่งพบว่าค่าเฉลี่ยของผู้รับบริการสูงกว่าค่าเฉลี่ยของสตรีผู้ให้บริการมาก-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study women’s role in health education service and compare of opinions concerning women’s role in this service as perceived by themselves and clients’ expectations. This study employed an analytic description method which included documentary study and survey research. The sample size were 732, categonized into 193 women who worked in health education service and 539 clients. These sample were chosen by simple random sampling from 4 government hospitals: Ramathibodi Hospital, Rajavithi Hospital, Vajira Hospital and Somdej Pra Pinklao Naval Hospital. Two questionnaires were employed. These questionnaires with checklists and rating scales were used for two groups of sample. Each questionnaires contains 40 items and concerning with women’s role in health education service. The data was analyzed by using percentages, arithmetic means, standard deviation and t-test. The result was as followed. Most opinion concerning women’s role in health education service as perceived by them selves was in high level except in seven items which is in moderate level. Clients’ expectation in these women’s roles was in high level in every items. The comparison of the opinion concerning women’s role in this service as perceived by them selves and clients’ expectations in each item showed that there was no statistically significant difference in 14 items and statistically significant difference in 26 items. The items which had high statistically significant difference were advising about commission before the epidemic diseases happened in each season and advising about books or documents related to health which was found that in both items clients’ arithmetic means was higher than that of women in health education service.-
dc.format.extent488506 bytes-
dc.format.extent571488 bytes-
dc.format.extent920519 bytes-
dc.format.extent458582 bytes-
dc.format.extent2300920 bytes-
dc.format.extent1388433 bytes-
dc.format.extent839523 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสตรี -- ไทยen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectแพทย์en
dc.subjectทัศนคติen
dc.titleการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของสตรีไทยผู้ให้บริการด้านการศึกษา เกี่ยวกับสุขภาพ ตามการรับรู้ของตนเองกับความคาดหวังของผู้รับบริการในโรงพยาบาลของรัฐบาลen
dc.title.alternativeA comparison of opinion concerning Thai women's roles in health education service as percieved by themselves and clients' expectations in government hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสารัตถศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tikumporn_Mu_front.pdf477.06 kBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_ch1.pdf558.09 kBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_ch2.pdf898.94 kBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_ch3.pdf447.83 kBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_ch4.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_ch5.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Tikumporn_Mu_back.pdf819.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.