Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18499
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราณี ฬาพานิช-
dc.contributor.authorวาสนา ไอยรารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-24T04:33:13Z-
dc.date.available2012-03-24T04:33:13Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18499-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาและรวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับค่านิยม ฐานะ สิทธิและหน้าที่ของสตรีในวรรณกรรมสันสกฤตที่ว่าด้วยธรรมศาสตร์ อันมี มนุสมฤติ เป็นหลักใหญ่และวรรณกรรมอื่นๆ เช่น อาปัสตัมพธรรมศาสตร์ วาสิษฐธรรมศาสตร์ เพาธายนธรรมศาสตร์ ยาชธวัลกยธรรมศาสตร์ เคาตมสมฤติ วิษณุสมฤติ นารทสมฤติ และพฤหัสปติสมฤติ การศึกษาค้นคว้าเรื่องราวดังกล่าว ผู้วิจัยรวบรวมหลักฐานและข้อมูลจากวรรณกรรมสันสกฤต ที่ว่าด้วยธรรมศาสตร์ดังกล่าว และวรรณกรรมอื่นๆ รวมทั้งงานวิจัยต่างๆ ที่นักปราชญ์ชาวอินเดียและชาวตะวันตกได้เขียนขึ้นไว้เกี่ยวกับวรรณกรรมสันสกฤต ที่ว่าด้วยธรรมศาสตร์ด้วย เนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ์แบ่งออกเป็น 7 บท ดังนี้ บทที่ 1 เป็นบทนำ กล่าวถึงความเป็นมาของปัญหา ซึ่งเป็นเหตุทำให้วิจัยเรื่องนี้ ตลอดจนวิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 2 กล่าวถึง ค่านิยมในด้านความประพฤติและความงามของสตรีอินเดีย บทที่ 3 กล่าวถึง ฐานะของสตรีในครอบครัวและสังคม เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจในเรื่องสิทธิและหน้าที่ บทที่ 4 กล่าวถึง สิทธิของสตรีอินเดีย บทที่ 5 กล่าวถึง หน้าที่ของสตรีที่พึ่งปฏิบัติในฐานะลูกสาว ภรรยาและมารดา ตามลำดับ บทที่ 6 กล่าวถึง ความแตกต่างเกี่ยวกับความคิดในเรื่องค่านิยม สิทธิและหน้าที่ของสตรี บทที่ 7 เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการวิจัย ผู้วิจัยพบว่าสตรีอินเดียมีความเป็นรองสามีแทบทุกด้านเธอจะได้รับการยกย่องอยู่เพียงฐานะอย่างเดียว คือ ฐานะเป็นแม่ของลูกชาย หน้าที่สำคัญของเธอ คือ ทำงานบ้าน ซื่อสัตย์จงรักภักดี อุทิศตนเพื่อสามี เคารพนับถือเขาเหมือนเทพเจ้า นอกจากนี้สังคมยังเห็นว่าสตรีไร้ความสัตย์ และตำหนิในเรื่องความอ่อนไหวของอารมณ์และจิตใจที่อ่อนแอ ดังนั้น เธอจึงอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้อื่นเสมอ และการที่เธอแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย ทำให้เธอหมดโอกาสในการศึกษาจึงทำให้เธอมีฐานะเท่ากับศูทร-
dc.description.abstractalternativeIt is the purpose of the thesis to conduct a critical study on the status of women, especially their rights and duties, in Sanskrit legal literature centered around Manusmrti including Apastambadharmasastra, Vgsishtnadharmagstra, Baudhayanadharmasastra, Yajnevalkyadharmasastra, Gautamasmrti, Visnusmrti, Naradasmrti and Brhaspatismrti. The research starts with the collection and study of data from Sanskrit legal literature previously mentioned. Other publications by Indian and Western scholars on this subject are also used. The thesis is divided into seven chapters. Chapter I describes the general background of the study. Chapter II indicates generally the behavior and beauty value of Indian women. Chapter III describes the status, domestic and social, of Indian women, as a preliminary step to understand the Indian concept of women's rights and duties. Chapter IV describes the Indian women's rights. Chapter V concerns with the Indian women's duties in terms of daughters, wives and mothers respectively. Chapter VI gives a summary of some differences on the values, rights and duties of women. Chapter VII is the conclusion with suggestions for further studies. The study reveals that women's status in India is inferior to that of their husbands. The only recognition Indian women enjoy is only that they are mothers of their sons. They are required to do household chores, to serve their husbands, be faithful and devoted to them, and to honor them as deities. In addition, women have to suffer from the social condemnations that they are by nature untrue. Because of their weakness, and their temperament, they should always be protected by others, especially by their husbands. Since the women get married while they are still young, they have much less chance to be educated and are often treated as if they Were sudras.-
dc.format.extent388076 bytes-
dc.format.extent385833 bytes-
dc.format.extent575646 bytes-
dc.format.extent494966 bytes-
dc.format.extent933586 bytes-
dc.format.extent456611 bytes-
dc.format.extent327780 bytes-
dc.format.extent254923 bytes-
dc.format.extent435492 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสตรีen
dc.subjectสตรี -- สถานภาพทางกฎหมายen
dc.subjectสิทธิสตรีen
dc.titleสิทธิและหน้าที่ของสตรีในวรรณกรรมสันสฤตที่ว่าด้วยธรรมศาสตร์en
dc.title.alternativeWomen's rights and duties in Sanskrit legal literatureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาตะวันออกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wasana_Iy_front.pdf378.98 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch1.pdf376.79 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch2.pdf562.15 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch3.pdf483.37 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch4.pdf911.71 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch5.pdf445.91 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch6.pdf320.1 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_ch7.pdf248.95 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Iy_back.pdf425.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.