Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18629
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสถียร เชยประทับ | - |
dc.contributor.author | ดวงใจ จตุรภัทร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | พิจิตร | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-24T13:26:08Z | - |
dc.date.available | 2012-03-24T13:26:08Z | - |
dc.date.issued | 2525 | - |
dc.identifier.isbn | 9745610356 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18629 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 | en |
dc.description.abstract | การพัฒนาชนบทไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการพัฒนาทางด้านการเกษตรเท่าที่ผ่านมาดูเหมือนว่ายังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงยากจนอยู่เช่นเดิม โครงการช่วยเหลือลูกเสือชาวบ้านที่เป็นเกษตรกร ตามโครงการสินเชื่อเพื่อการเกษตรแผนสามประสาน ในเขตตำบลหัวดง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร เป็นโครงการพัฒนาทางด้านการเกษตรที่มุ่งช่วยเหลือเกษตรกรให้มีความอยู่ดีกินดีขึ้น ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาตัวแปรทางด้านการสื่อสารที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯดังกล่าวพบว่า รูปแบบของการสื่อสารเป็นการสื่อสารแบบขั้นตอนเดียว และมีทิศทางของการสื่อสารแบบทิศทางเดียว สำหรับประสิทธิภาพของสื่อต่างๆ ในการให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการฯ ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างกันระหว่าง สื่อเฉพาะกิจ สื่อระหว่างบุคคลภายในท้องถิ่น และสื่อระหว่างบุคคลภายนอกท้องถิ่น หรือสื่อทั้งสามประเภทรวมกัน ส่วนประสิทธิภาพของสื่อในด้านการจูงใจปรากฏว่าสื่อระหว่างบุคคลภายในท้องถิ่นมีประสิทธิภาพมากกว่าสื่อประเภทอื่นๆ และเมื่อใช้สื่อทั้งสามประเภทในท้องถิ่นมีความน่าเชื่อถือมากกว่าสื่อเฉพาะกิจ แต่ไม่แตกต่างจากสื่อระหว่างบุคคลภายนอกท้องถิ่น อนึ่งการวิจัยนี้ได้แบ่งเกษตรกรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เกษตรกรที่มีลักษณะทันสมัยกับเกษตรกรที่มีลักษณะตามประเพณีโบราณ ผลการวิจัยปรากฏว่า เกษตรกรที่มีลักษณะทันสมัยมีความรู้เกี่ยวกับโครงการฯมากว่า เกษตรกรที่มีลักษณะตามแบบประเพณีโบราณ แต่เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มไม่มีความแตกต่างกันในพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ และความเร็ว-ช้าในการยอมรับโครงการฯ ส่วนเกษตรกรที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมสูงมีลักษณะจามแบบประเพณีโบราณต่ำกว่า เกษตรกรที่สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ | - |
dc.description.abstractalternative | Rural development, particularly past agricultural development projects, in Thailand seems unsuccessful. The majority of the peasants still remain poor. Agricultural loan project, based on Tri-Interrelated-Economic-Factors, established to assist peasant village scouts in Hua.Dang District, Amphoe Muang, Pichit Province, was an agricultural development project aimed at raising the level of living of these village scouts. The researcher examined communication variables affecting the achievement of the project, and found that communication patterns and direction of information flow was predominantly one-step and one-way. There was no difference in the effectiveness of specialized media, localite interpersonal media, cosmopolite interpersonal media or the As far as the effectiveness of these media in persuading the subjects to adopt the project was concerned, the researcher found that localite interpersonal media were more effective than other media, and the combination of all media was the effective. As for trustworthiness of the media, it was found that localite interpersonal media were more trustworthy than specialized media, but there was no difference in trustworthiness between localite and cosmopolite interpersonal media. In this research, the subjects were classified into two categories : modern ad traditional. It was found that modern subjects had greater knowledge of the project than traditional subjects. Nevertheless, both groups of subjects did not differ in media exposure and earliness/ lateness in adopting the project. Subjects with high socio-economic status were found to be less traditional than subjects with low socio-economic status. | - |
dc.format.extent | 385600 bytes | - |
dc.format.extent | 398840 bytes | - |
dc.format.extent | 601807 bytes | - |
dc.format.extent | 394523 bytes | - |
dc.format.extent | 498452 bytes | - |
dc.format.extent | 384056 bytes | - |
dc.format.extent | 684462 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | en |
dc.title | รูปแบบของการสื่อสารที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการช่วยเหลือลูกเสือชาวบ้าน ที่เป็นเกษตรกร ตามโครงการสินเชื่อเพื่อการเกษตรแผนสามประสาน ในเขตตำบลหัวตง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร | en |
dc.title.alternative | Communication patterns affecting the achievement of agricultural tri-interrelated-economic-factors loan project among Peasant village scouts in Hua-Dong District, Amphoe Muang, Pichit province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | satien.c@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Duangjai_Ch_front.pdf | 376.56 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_ch1.pdf | 389.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_ch2.pdf | 587.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_ch3.pdf | 385.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_ch4.pdf | 486.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_ch5.pdf | 375.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Duangjai_Ch_back.pdf | 668.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.