Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorอดิศักดิ์ แป๊ะพุฒ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-25T06:07:35Z-
dc.date.available2012-03-25T06:07:35Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18673-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตของโรงงานประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลผลิตในกระบวนการผลิตให้มากขึ้น สืบเนื่องมาจากปัญหาที่เกิดขึ้นจากการผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพ สายการผลิตที่ไม่สมดุล ทำให้ได้ผลผลิตที่ไม่บรรลุตามแผนการผลิต ส่งผลกระทบต่อการส่งมอบสินค้าไม่ทันตามกำหนดเวลา โดยสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหานี้ คือการที่มีกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าในสายการผลิตจนส่งผลให้เกิดความสูญเปล่าต่างๆ ขึ้นตามมาในกระบวนการผลิต จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผู้วิจัยจึงได้เสนอให้ใช้แนวทางการวิเคราะห์คุณค่ากิจกรรมในแต่ละขั้นตอนการทำงานตลอดทั้งสายการผลิต เพื่อจำแนกประเภทกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าให้อยู่ในรูปของความสูญเปล่าแต่ละประเภท จากนั้นทำการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่าและกิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต โดยอาศัยเทคนิคการจัดสมดุลสายการผลิต เครื่องมือคุณภาพ และเครื่องมือตามแนวคิดการผลิตแบบลีน เป็นต้น ซึ่งผลจากการดำเนินการปรับปรุงโรงงานกรณีศึกษาดังกล่าว สามารถช่วยลดแรงงานทางตรงในหน่วยผลิตของกระบวนการประกอบชิ้นส่วนจาก 16 คน เป็น 14 คน และพบว่ากระบวนการผลิต มีผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 2499 ชิ้นงานต่อวัน เป็น 3239 ชิ้นงานต่อวัน คิดเป็น 29.61% และประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 79.33% เป็น 93.57% คิดเป็น 17.95% และผลิตภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 1.344 เป็น 1.388 นอกจากนี้ยังสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของผลิตภัณฑ์รุ่นอื่นๆ ของโรงงานอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study for a guideline to improve production process in an electronics assembly factory. The objective is to increase the productivity. Since the study found more ineffective production and unbalanced line problems affect to on-time delivery. The major cause of this problem is that there are many non-value added activities in the production line that have effects on effectiveness lost in production line. As above problem, the researcher presents the activity consideration in each step for all working lines to classify non-valued added activities by analyzing each activity and specify wastes so as to improve the occurred problem through line balance technique, quality tools and application of appropriate Lean technique. After the manufacturing the process has been improved, the direct labor in assembly process was reduced from 16 persons to 14 persons and shown a trend of productivity improvement; that is from 2499 to 3239 pcs. per day , or by 29.61 %. Efficiency has been improved from 79.33 to 93.57 or by 17.95%. And total productivity has been improved from 1.344 to 1.388. Finally, this pattern helpful to improve the productivity of other series product in the factory.en
dc.format.extent6378859 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.565-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ -- การผลิตen
dc.subjectการผลิตแบบลีนen
dc.titleการเพิ่มผลิตภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์en
dc.title.alternativeA productivity improvement of production process in electronics assembly factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.565-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adisak_pa.pdf6.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.