Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18814
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorจิรายุ ประภาอนันตชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-27T15:23:10Z-
dc.date.available2012-03-27T15:23:10Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18814-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะลดของเสียชุดปรับกระจกมองข้างรถยนต์ ในโรงงานผลิตกระจกมองข้างรถยนต์ การดำเนินการทำโดยเก็บข้อมูลก่อนแก้ไขเป็นเวลา 1 ปี ตั้งแต่เดือนมกราคม – ธันวาคม 2551 ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนของเสียที่เกิดขึ้นภายในกระบวนการและจากลูกค้าปฏิเสธสินค้าจากแผนกควบคุมคุณภาพ ซึ่งก่อนการแก้ไขมีจำนวนของเสียที่เกิดขึ้นทั้งหมด 9,187 ชิ้น ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการคัดเลือกรุ่นและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อบริษัทกรณีศึกษามากที่สุด ได้แก่ ปัญหากระจกปรับเสียงดัง/เสียงผิดปกติและปัญหากระจกปรับสะดุด ดำเนินการตามเทคนิคซิกซ์ ซิกมาทำการวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาโดยใช้แผนผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) และการออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) จากงานวิจัยนี้พบว่าความขรุขระของพื้นผิวเฉลี่ย (Ra) มีความสัมพันธ์กับความดันในการฉีด (Injection Pressure, P) เป็นสมการเส้นตรง ซึ่งเมื่อเพิ่มความดันในการฉีด (Injection Pressure, P) จะทำให้ความขรุขระของพื้นผิวเฉลี่ย (Ra) มีค่าต่ำลง โดยปัญหากระจกปรับเสียงดัง/เสียงผิดปกติมีสมการความสัมพันธ์ y = -0.00799X + 2.206 และปัญหากระจกปรับสะดุดมีสมการความสัมพันธ์ y = -0.00677X + 1.919 และเนื่องจากเครื่องฉีดและแม่พิมพ์มีการใช้งานมานาน จึงเสื่อมสภาพและไม่สามารถควบคุมค่าต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพ ดังนั้นจึงนำเสนอโครงการในการแก้ไขและป้องกันปัญหา ได้แก่ การซื้อเครื่องฉีดใหม่ การทำแม่พิมพ์ใหม่ การจัดทำทางด้านเอกสาร Xbar – R Chart, Sample Data Sheet และเอกสารการตรวจสอบเครื่องมือและเครื่องจักรต่างๆ เมื่อดำเนินการตามโครงการแล้วทำการเก็บข้อมูลหลังการแก้ไขเป็นเวลา 6 เดือนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2552 – เมษายน 2553 ซึ่งผลคือสามารถลดจำนวนของเสียทั้ง 2 ปัญหารวม 18 ชิ้น หรือคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของเสียรวมลดลงเหลือ 0.012% ต่อเดือนen
dc.description.abstractalternativeThe objectiveness of this thesis is study about defect reduction of door mirror adjustment for door mirror factory. The data of before improvement was recorded 1 year, that was from January – December 2008. The data was inhouse defect and customer claim from quality control department. Total defects were 9,187 pieces. Researcher chose model and problem that was the most effect to company. These are noise and adjustment do not smooth problem. After that, analysis for finding root cause of problem by Six Sigma, Fish Bone Diagram and Design of Experiment. From research, researcher found average surface roughness (Ra) has relation with injection pressure. This relation is linear equation. If increasing injection pressure, average surface roughness (Ra) will decrease. Relation equation of noise problem is y = -0.00799X + 2.206 and adjustment do not smooth problem is y = -0.00677X + 1.919 Because of injection machine and insert mold have used for a long time so they wore and could not control factor so researcher suggest project of improvement that were purchasing new injection machine, making new mold and Issue Xbar – R Chart, Sample Data Sheet and equipment and machine check sheet documents. After implementation of improvement project, Defects were recorded for 6 months from November 2009 – April 2010. The total defects of two problem were 18 pieces or calculated to 0.012% defect per month.en
dc.format.extent6150553 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.234-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถยนต์en
dc.subjectกระจกen
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)en
dc.titleการลดของเสียชุดปรับกระจกมองข้างรถยนต์en
dc.title.alternativeDefect reduction of door mirror adjustmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.234-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jirayu_pr.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.