Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18830
Title: | Evaluation of masticatory function after orthognathic surgery in mandibular prognathism |
Other Titles: | การประเมินประสิทธิภาพการบดเคี้ยวภายหลังการผ่าตัดกระดูกขากรรไกรในผู้ป่วยกระดูกขากรรไกรล่างยื่น |
Authors: | Patcha Wanjarrurat |
Advisors: | Atiphan Pimkhaokham Suknipa Vongthongsri |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
Advisor's Email: | Atiphan.P@Chula.ac.th Suknipa.V@Chula.ac.th |
Subjects: | Mandible -- Surgery Mastication Malocclusion ขากรรไกรล่าง -- ศัลยกรรม การบดเคี้ยว การสบฟันผิดปกติ |
Issue Date: | 2010 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Objective: This study was to compare masticatory function before orthognathic surgery and 3 months after orthognathic surgery in mandibular prognathism patients and to study the relationship between the subjective assessment and the objective assessment of masticatory function. Material and method: The study group was 10 mandibular prognathism patients who had undergone pre-surgical orthodontic treatment. The masticatory function test was done before orthognathic surgery and 3 months after surgery. The control group was 10 skeletal class I patients with healthy dentate. Before the test, the dentition and the numbers of occlusal contact point were recorded in all subjects. The masticatory function test could be done by subjective and objective assessment. The subjective assessment was evaluated by using 7-item questionnaire. The objective assessment was evaluated by mixing ability test and maximum bite force test. To compare masticatory function between study and control group, the independent t-test was used. In comparison between pre- and post- operation in the study group, the paired t-test was used. Pearson correlation was used to analyze the relationship between the subjective and objective assessment. Result: The clinical test showed the increasing of questionnaire score, the color of chewed gum, the maximum bite force and the numbers of occlusal contact point. There was no statistical significance (p‹0.05) neither the relationship between subjective and objective assessment in the study nor the control group. Conclusion: The masticatory function efficiency in the study group was close to the control group without statistical significant at 3 months after surgery. The statistical significance was not found in both the relationship between subjective and objective assessment. |
Other Abstract: | วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบดเคี้ยวของผู้ป่วยกระดูกขากรรไกรล่างยื่น ก่อนผ่าตัดและหลังรับการผ่าตัดกระดูกขากรรไกร 3 เดือน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินเชิงจิตวิสัยกับเชิงวัตถุวิสัย วัสดุและวิธีการ: ผู้ป่วยกลุ่มศึกษาได้แก่ ผู้ป่วยกระดูกขากรรไกรล่างยื่นที่ได้รับการจัดฟันเพื่อผ่าตัดกระดูกขากรรไกรล่าง จำนวน 10 ราย โดยทำการประเมินผลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด 3 เดือน ผู้ป่วยกลุ่มควบคุมได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครงกระดูกศีรษะและใบหน้าเป็นปกติ มีสุขภาพฟันดีและไม่เคยดีรับการถอนฟันกราม จำนวน 10 ราย ก่อนการประเมิน ผู้ร่วมทดสอบทุกรายได้รับการตรวจช่องปากเพื่อตรวจชุดของฟัน และจำนวนจุดสบของฟัน การประเมินประสิทธิภาพการบดเคี้ยวสามารถได้ทำทั้งในเชิงจิตวิสัยและวัตถุวิสัย ประเมินเชิงจิตวิสัยโดยใช้แบบสอบถาม 7 ข้อ ประเมินเชิงวัตถุวิสัยโดยดูความสามารถในการคลุกเคล้าอาหารจากความเข้มของสีหมากฝรั่งและการวัดแรงกัดสูงสุด เปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพการบดเคี้ยวระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติอินดิเพนเดนต์ ที-เทสต์ และเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพการบดเคี้ยวเฉพาะในกลุ่มศึกษาระหว่างก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดโดยใช้สถิติแพร์ ที-เทสต์ หาความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินเชิงจิตวิสัยและวัตถุวิสัยโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์เพียร์สัน ผลการศึกษา: ในทางคลินิกพบว่า ภายหลังการผ่าตัด 3 เดือน ผู้ป่วยกระดูกขากรรไกรล่างยื่นมีค่าเฉลี่ยคะแนนแบบสอบถาม ความเข้มของสีหมากฝรั่ง แรงกัดสูงสุดและจำนวนจุดสบเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ในทางสถิติไม่พบว่ามีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p‹0.05) รวมทั้งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินในเชิงจิตวิสัยและวัตถุวิสัยทั้งในกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุม สรุป: ภายหลังการผ่าตัด 3 เดือน พบการเปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพการบดเคี้ยวในผู้ป่วยกระดูกขากรรไกรล่างยื่นในทางคลินิก โดยพบว่ามีค่าเข้าใกล้ค่าของกลุ่มควบคุมมากขึ้น แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ รวมทั้งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินเชิงจิตวิสัยและวัตถุวิสัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Oral and Maxillofacial Surgery |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18830 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2227 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.2227 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
patcha_wa.pdf | 1.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.