Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนันต์ อัตชู-
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์-
dc.contributor.authorธาวุฒิ ปลื้มสำราญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-28T14:25:47Z-
dc.date.available2012-03-28T14:25:47Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745619876-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18846-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพักระหว่างช่วงฝึกโดยใช้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นเกณฑ์ที่มีต่อการฝึกว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 และ 200 เมตร กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักศึกษาชายชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดยะลา จำนวน 48 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างประชากรออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 12 คน โดยให้แต่ละกลุ่มมีค่าเฉลี่ยของเวลาการว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 เมตร ก่อนฝึกใกล้เคียงกันมากที่สุด ทุกกลุ่มทำการฝึกซ้อมด้วยตารางการฝึกชุดเดียวกัน เว้นแต่ระยะเวลาการพักระหว่างช่วงฝึกเท่านั้นที่แตกต่างกันคือ กลุ่มที่ 1, 2 และ 3 การพักระหว่างช่วงฝึก จะพักจนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจลดลงมาถึง 100, 90 และ 80 ครั้งต่อนาทีตามลำดับ ส่วนกลุ่มที่ 4 การพักระหว่างช่วงฝึกจะพักตามเวลาที่กำหนดไว้ในตารางการฝึกแล้วจึงเริ่มการฝึกในช่วงต่อไปได้ ทุกกลุ่มทำการฝึกสัปดาห์ละ 3 วันคือ วันจันทร์ พุธ และศุกร์ ระหว่างเวลา 17.00-20.00 รวมระยะเวลาในการฝึกซ้อมทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ทดสอบความเร็วในการว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 และ 200 เมตร ในวันเสาร์ของสัปดาห์ที่หนึ่ง สัปดาห์ที่สอง สัปดาห์ที่สาม สัปดาห์ที่สี่ สัปดาห์ที่ห้า สัปดาห์ที่หก สัปดาห์ที่เจ็ด และสัปดาห์ที่แปด นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยปรากฏว่า 1.การพักในระหว่างช่วงฝึกด้วยอัตราการเต้นของหัวใจ 100,90 และ 80 ครั้งต่อนาที มีผล ต่อการฝึกว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 และ 200 เมตร ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 2.การพักในระหว่างช่วงฝึกด้วยเวลากับการพักด้วยอัตราการเต้นของหัวใจ 100,90 และ 80 ครั้งต่อนาที มีผลต่อการฝึกว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 และ 200 เมตร ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of resting period among training interval, as determined by heart rate, on the 100- and 200-meter crawl strokes. Forty-eight male students of the first and second years from the College of Physical Education of Yala were used as subject and were divided into four groups with equal mean speed in the 100-meter crawl stroke test. Each groups was trained according to the training schedule. The resting periods between-interval training for each group was as follow : the first group, the second group, and the third group had to rest until their heart rate were at 100, 90 and 80 times per minute, respectively ; the fourth group took the rest according to the schedule. The training was carried out between 5.00-8.00 p.m., three days a week, on Monday, Wednesday, and Friday, for eight weeks. On Saturday of the 1st, 2nd,3rd, 4th, 5th,6th, 7th and 8th weeks, the speed in 100- and 200-meter crawl stroke were tested. The data were then analyzed in terms of mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. It was found that : 1.There was no significantly different at the level of .05 among the first, the second, the third, and the fourth group on the 100- and 200- meter of the crawl stroke. 2.There was no significantly different at the level of .05 between the experimental and the controlled groups on the 100- and 200- meter of the crawl stroke.-
dc.format.extent433058 bytes-
dc.format.extent359994 bytes-
dc.format.extent504297 bytes-
dc.format.extent317596 bytes-
dc.format.extent707921 bytes-
dc.format.extent333177 bytes-
dc.format.extent684150 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectว่ายน้ำ -- การฝึกen
dc.subjectชีพจร -- การวัดen
dc.titleผลของการพักระหว่างช่วงฝึกโดยใช้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นเกณฑ์ ที่มีต่อการฝึกว่ายน้ำท่าครอว์ลระยะทาง 100 และ 200 เมตรen
dc.title.alternativeEffects of resting period among training intervals, as determined by heart rate, on the 100- and 200-Meter crawl strokesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tawut_Pl_Front.pdf422.91 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_ch1.pdf351.56 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_ch2.pdf492.48 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_ch3.pdf310.15 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_ch4.pdf691.33 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_ch5.pdf325.37 kBAdobe PDFView/Open
Tawut_Pl_Back.pdf668.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.