Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18935
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ปุณณชัยยะ-
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorสมชาติ เลิกบางพลัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-01T04:35:15Z-
dc.date.available2012-04-01T04:35:15Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745663158-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18935-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อแยกวัดอนุภาคอัลฟาที่เกิดจากเรดอน-222 กับเรดอน-220 ด้วยวิธีแทรค-เอทช์ โดยใช้แผ่นดูดกลืนรังสีอัลฟา และเพื่อใช้วิธีแทรค-เอทช์ แยกหาเปอร์เซนต์ยูเรเนียมและธอเรียมในแร่ที่มีทั้งยูเรเนียมและธอเรียมปนกัน โดยการใช้แผ่นฟิล์มเซลลูโลสไนเตรท แบบ CN-85 เป็นวัสดุบันทึกรอย และใช้สารสะลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 10 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นสารละลายเคมีที่เหมาะสมในการกัดขยายรอย ใช้แผ่นอะลูมินัมหนา 6.8 มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตร ซึ่งหาได้ง่าย เป็นแผ่นดูดกลืนรังสีอัลฟา จากการวิจัยพบว่าระยะเวลาที่เหมาะสมในการกัดขยายรอยอนุภาคอัลฟาจากเรดอน-222 และเรดอน-220 บนแผ่นฟิล์มเซลลูโลสไนเตรท แบบ CN-85 เมื่อมีแผ่นอะลูมินัมกั้นเป็น 30 นาที และเมื่อไม่มีแผ่นอะลูมินัมกั้น เป็น 40 นาที อัตราส่วนความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากเรดอน-222 เมื่อมีแผนอะลูมินัมกั้น ต่อ ความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากเรดอน-222 เมื่อไม่มีแผ่นอะลูมินัมกั้นเป็น 0.1815 อัตราส่วนความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากเรดอน-220 เมื่อมีแผ่นอะลูมินัมกั้น ต่อ ความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากเรดอน-220 เมื่อไม่มีแผ่นอะลูมินัมกั้นเป็น 0.3074 สามารถแยกรอยอนุภาคอัลฟาจากก๊าซผสมที่ปรากฏบนแผ่นฟิมล์เซลลูโลสไนเตรทเมื่อกั้นและไม่ได้กั้นด้วยแผ่นอะลูมินัมหนา 6.8 มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตร โดยมีค่าอัตราส่วนความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากก๊าซผสมซึ่งเหลือจากการกั้นต่อ ความหนาแน่นรอยอนุภาคอัลฟาจากก๊าซผสมเมื่อไม่มีแผ่นอะลูมินัมกั้นอยู่ระหว่าง 0.2468 ถึง 0.2971 และจากการวิจัยพบว่าการวิเคราะห์ปริมาณยูเรนียมและธอเรียมในแร่ที่มีทั้งยูเรเนียมและธอเรียมปนกันโนวิธีแทรค-เอทช์ ได้ผลอยู่ในลำดับ (order) เดียวกันกับผลจากการวิเคราะห์โดยวิธีแกมมาสเปคโตรมิตรี-
dc.description.abstractalternativeThe objects of this experiment is to study the differentiation of Rn-220 and Rn-222 Alpha tracks on cellulose nitrate film type Cn-85 by using track-etch method with alpha absorber and to determine weight percentages of uranium and thorium in minerals which have both of uranium and thorium. Sodium hydroxide solution (naOH-solution) with concentration 10 % weight at temperature of 60 degree celcius if used for being the suitable etchant. Aluminumfoil with thickness of 6.8 mg/cm2,which can be available, is used for being the alpha absorber. It was found that the optimum time intervals for etching Rn-222 and Rn-220 alpha tracks on cellulose nitrate film type CN-85 with aluminum absorber is 30 minutes and without aluminum absorber is 40 minutes, the ratio of Rn-222 alpha tracks density when using aluminum absorber to Rn-222 alpha tracks density without aluminum absorber is 0.1815 , the ratio of Rn-220 alpha tracks density when using aluminum absorber to Rn-220 alpha tracks density without aluminum absorber is 0.3074. Alpha tracks from mixed gas, appeared on cellulose nitrate film with aluminum and without aluminum absorber thickness of 6.8 mg/cm2, can be differed by the ratio of alpha tracks density remainder to alpha tracks density without aluminum absorber are between 0.2468 and 0.2971. And it was found that the results of weight percentage of uranium and thorium which was analysed by track-etch method is the same order of the results from being analysed by gamma spectrometer method.-
dc.format.extent592003 bytes-
dc.format.extent332336 bytes-
dc.format.extent732800 bytes-
dc.format.extent700440 bytes-
dc.format.extent731801 bytes-
dc.format.extent501876 bytes-
dc.format.extent488180 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเรดอนen
dc.subjectรังสีแอลฟาen
dc.subjectรอยอนุภาค (นิวเคลียร์ฟิสิกส์)en
dc.titleการแยกรอยของอนุภาคอัลฟาที่เกิดจากเรดอน-220 และเรดอน-222 บนฟิล์มเซลลูโลสไนเตรทโดยใช้แผ่นดูดกลืนรังสีอัลฟาen
dc.title.alternativeDifferentiation of Rn-220 and Rn-222 alpha tracks on cellulose nitrate film by using alppha absorbersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuvit.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNares.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchat_Le_front.pdf578.13 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_ch1.pdf324.55 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_ch2.pdf715.62 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_ch3.pdf684.02 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_ch4.pdf714.65 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_ch5.pdf490.11 kBAdobe PDFView/Open
Somchat_Le_back.pdf476.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.