Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18944
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย กาญจนวาสี | - |
dc.contributor.advisor | มงคล ศรีไพรวรรณ | - |
dc.contributor.author | สิริลักษณ์ จำเรียง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-04-01T05:38:25Z | - |
dc.date.available | 2012-04-01T05:38:25Z | - |
dc.date.issued | 2527 | - |
dc.identifier.isbn | 9745637971 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18944 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาเอกชนสายอาชีวศึกษาของประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2526 ถึง 2536 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ทำการเก็บรวบรวม ด้วยการถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน ๒๓ คน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาเอกชนสายอาชีวศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์และฐานนิยมของแต่ละข้อความ ผลการวิจัยปรากฏแนวโน้มการจัดการศึกษาเอกชนสายอาชีวศึกษาของประเทศไทย ดังนี้ 1. วิชาการอีเลคโทรนิคจะเข้ามามีบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อมในงานทางอาชีวศึกษา ซึ่งคาดว่าจะเน้นในแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสำเร็จรูป และ/หรือกึ่งสำเร็จรูปจากผลผลิตทางเกษตรกรรม/หรือในลักษณะแปรรูป โดยอาศัยพลังงานที่ค้นพบในประเทศ เช่น ก๊าซและน้ำมัน 2. อาชีพทางด้านอุตสาหกรรมและอาชีพทางการจัดการจะแยกเป็นสาขาวิชาชีพเฉพาะมากขึ้น และคาดว่าจะมีการประกอบอาชีพในลักษณะรวมทุนเป็นกิจการขนาดกลางเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงต้องการแรงงานที่มีทั้งฝีมือเทคโนโลยีเฉพาะและความสามารถในทางบริหาร 3. คาดว่าจะไม่เพิ่มการผลิตแรงงานในสาขาวิชาชีพด้านการจัดการแต่จะเพิ่มกระบวนการเรียนการสอนให้เข้ากันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 4. กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาจะมีบทบาทสำคัญในการปรับระบบเศรษฐกิจโลกและจะมีการร่วมกลุ่มระหว่างประเทศที่มีฐานทางเศรษฐกิจใกล้เคียงกัน ซึ่งประเทศในกลุ่มเหล่านี้จะแลกเปลี่ยนตลาดแรงงานซึ่งกันและกันหรือแลกเปลี่ยนแรงงานในระดับกลุ่มต่อกลุ่ม 5. ความต้องการแรงงานไทยในต่างประเทศ จะเป็นแรงงานระดับช่างฝีมือ มากกว่าแรงงานไม่มีฝีมือ และจะเพิ่มการแข่งขันระหว่างประเทศที่มีการส่งแรงงานออก 6. รัฐจะให้เอกชนร่วมจัดการศึกษาเอกชนสายอาชีวศึกษาเพิ่มมากขึ้นและยังคงอยู่ในความควบคุมดูแลของรัฐ 7. รัฐจะจัดให้มีคณะกรรมการการวัดผลและประเมินผลความรู้ความสามารถของนักเรียนอาชีวศึกษาและช่างฝีมือทั่วไปเพื่อออกเป็นวุฒิบัตรที่ใช้ในการประกอบอาชีพ 8. จำนวนโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาจะเพิ่มมากขึ้นและมีคุณภาพสูงขึ้น 9. สวัสดิการของครูโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาจะมากกว่าหรือเท่ากับสวัสดิการของข้าราชการครู 10. หลัดสูตรอาชีวศึกษาจะเน้นทักษะภาคปฏิบัติให้มากขึ้น รวมทั้งจะมีเป้าหมายให้นักเรียนกลับมาที่ศูนย์การเรียน เพื่อปรับความรู้ความสามารถให้เข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 11. คุณสมบัติของนักเรียนโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาที่ตลาดแรงงานต้องการคือความรับผิดชอบสูง และการมีความคิดสร้างสรรค์ 12. ผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาจะยังคงว่างงานหรือมุ่งเรียนต่อระดับสูง | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study the trends of Private Vocational Education of Thailand from 1983 to 1993. Delphi Technique was used in this study and questionnaires were employed to collect data from the sample consisting of 23 experts of Private Vocational Education. The collected data were analyzed by median, mode and interquartile range. As such trends of Private Vocational Education of Thailand were as follows : 1. As expected, the Electronics will play direct or indirect roles in vocational works which will concern the production of consumer’s goods and/or producers’ goods from agricultural products or in the process or by gas and oil which were found in the country. 2. Industrial and Manageable professions will be classified to specific ones. It is expected that the occupation will be mostly concentrated on medium size companies, so skilled labour with specific technological and business management will be required. 3. The government will not increase man-power in manageable field but will improve the learning process according to modern technology. 4. The developing countries will play an important role in changing the world economic system and there will be an organization of countries which have similar economic background. These countries will exchange labour market or interchange labour within each segment. 5. Requirement of Thai labour overseas will be on skilled labour rather than unskilled one and competition among labour exported countries will be increased. 6. The government will permit private agencies to manage private vocational education and will control them. 7. The government will form the board for measuring and evaluating knowledge and ability of students and skilled labours and will grant working licence. 8. The number of private vocational school will be increase and have higher quality. 9. Teacher of Private Vocational school’ welfare will be higher or as high as government teacher. 10. Vocational curriculum will emphasize practices and students will return to the learning conter adjust knowledge and ability to fit modern technology. 11. The Labour market will need the students of private vocational schools who possess high responsibility and creativity. 12. The students who graduate from private vocational schools will still be unemployed or will aim for higher education. | - |
dc.format.extent | 491095 bytes | - |
dc.format.extent | 486654 bytes | - |
dc.format.extent | 959601 bytes | - |
dc.format.extent | 560848 bytes | - |
dc.format.extent | 984085 bytes | - |
dc.format.extent | 1475257 bytes | - |
dc.format.extent | 2584653 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การศึกษาทางอาชีพ -- ไทย | en |
dc.subject | โรงเรียนอาชีวศึกษา | en |
dc.title | แนวโน้มการจัดการศึกษาเอกชนสายอาชีวศึกษาในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคเดลฟาย | en |
dc.title.alternative | Trends of private vocational education in Thailand by using Delphi Technique | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sirichai.k@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sirilak_Ja_front.pdf | 479.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_ch1.pdf | 475.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_ch2.pdf | 937.11 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_ch3.pdf | 547.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_ch4.pdf | 961.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_ch5.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sirilak_Ja_back.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.