Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18990
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุดม พิมพา-
dc.contributor.authorสุกัญญา มุสิกวัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-04T15:38:15Z-
dc.date.available2012-04-04T15:38:15Z-
dc.date.issued2517-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18990-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะเปรียบเทียบวิธีการฟื้นตัวของร่างกายหลังการออกกำลังกาย ด้วยการนวดกล้ามเนื้อกับการชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็น โดยมีข้อสมมุติฐานว่า การชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็นทำให้ร่างกายฟื้นตัวหลังการออกกำลังกายได้เร็วกว่าการนวดกล้ามเนื้อ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชายชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษาจำนวน 30 คน กลุ่มตัวอย่างทุกคนต้องเข้ารับการทดลองวิธีการทำให้ร่างกายฟื้นตัวหลังการออกกำลังกายทั้ง 3 วิธี คือ วิธีควบคุม (Control) โดยการให้นั่งพักเฉย ๆ วิธีนวดกล้ามเนื้อ และวิธีชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็น โดยมีช่วงห่างของการทดลองแต่ละวิธี 1 วัน การทดลองการวิจัยเริ่มต้นด้วยการจับชีพจรขณะพัก แล้วให้ออกกำลังกายโดยการขี่จักรยานวัดงานที่ตั้งน้ำหนักถ่วง 2.5 กิโลปอนด์ เป็นเวลา 5 นาที เสร็จแล้วให้หยุดพักเพื่อดูสภาพการฟื้นตัวในขณะที่ใช้วิธีทดลองแต่ละวิธี จับชีพจรทุก ๆ นาทีจนกว่าร่างกายจะคืนสู่สภาพปกติเพื่อหาระยะเวลาการฟื้นตัว แล้วนำระยะเวลาของการฟื้นตัวในแต่ละวิธีไปวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบกระทำซ้ำ และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ตามวิธีของ นิวแมนคูลส์ ผลการวิจับพบว่า วิธีการทำให้ร่างกายฟื้นตัว โดยการชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็นกับการนวดกล้ามเนื้อไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 การชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็น กับการให้นั่งพักเฉย ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และการนวดกล้ามเนื้อกับการให้นั่งพักเฉย ๆ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ดังนั้นผู้ฝึกหัด ครูพลศึกษาควรจะเลือกวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือการชโลมร่างกายด้วยน้ำเย็น หรือการนวดกล้ามเนื้อไปปฏิบัติต่อนักกีฬาเพื่อให้ร่างกายของนักกีฬาคืนสู่สภาพปกติพร้อมที่จะทำงานหรือเข้าแข่งขันต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare two methods of recovery after exercise : muscle massage and cool water wetting, under the hypothesis that cool water wetting method was better than muscle massage. The subjects were randomly sampled from the freshmen of Srinakharinwirot University, 30 in all, and all of them participated in experimental methods : sitting, cool water wetting, and muscle massage. Their resting pulses were recorded before they rode the bicycle ergometer with the load of 2.5 kiloponds for 5 minutes. After exercise, they were treated by sitting up the bench for the controlled method, by cool water wetting and muscle massage for the second and third method, respectively. Their recovery periods were recorded in minutes. The results, them, were treated by the statistical techniques of one-way analysis of variance with repeated measures and multiple comparisons by Newman-Keuls method. Statistically, it was found that the recovery period of the cool water wetting method was significantly different from the controlled method at the .01 level. However, there was no significant difference between the cool water wetting method and the muscle-massage. Therefore, either the cool water wetting or the muscle-massage should be applied to practice by physical educators and coaches, as well.-
dc.format.extent390715 bytes-
dc.format.extent710565 bytes-
dc.format.extent344541 bytes-
dc.format.extent295991 bytes-
dc.format.extent328284 bytes-
dc.format.extent565724 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการออกกำลังกายen
dc.titleการเปรียบเทียบการฟื้นตัวหลังการออกกำลังกาย ด้วยการนวดกล้ามเนื้อ กับการชะโลมด้วยน้ำเย็นen
dc.title.alternativeA comparison of recovery after exercise by muscle massage and cool water wettingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya_Mu_front.pdf381.56 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_Mu_ch1.pdf693.91 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_Mu_ch2.pdf336.47 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_Mu_ch3.pdf289.05 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_Mu_ch4.pdf320.59 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_Mu_back.pdf552.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.