Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19083
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตยา โตควณิชย์-
dc.contributor.authorนฐพร โอภาสวชิระกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-16T07:44:57Z-
dc.date.available2012-04-16T07:44:57Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19083-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2553en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปริมาณในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้าแฟชั่น 2) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อประเทศแหล่งกำเนิดตราสินค้าแฟชั่น 3) เพื่อศึกษาคุณค่าตราสินค้าแฟชั่นในสายตาของผู้บริโภค และ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้าแฟชั่น ประเทศแหล่งกำเนิดตราสินค้าแฟชั่น และคุณค่าตราสินค้าแฟชั่น ซึ่งได้ทำการศึกษากับ 4 ตราสินค้าด้วยกันคือ ตราสินค้า Esprit, Zara, Giordano และ Dapper โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจกับกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 20-39 ปี อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ที่เคยซื้อหรือใช้ตราสินค้าเหล่านี้ จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ผลการวิจัยพบว่า 1)ทัศนคติโดยรวมของผู้บริโภคที่มีต่อแต่ละตราสินค้าแฟชั่นมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 2)ทัศนคติโดยรวมของผู้บริโภคที่มีต่อประเทศแหล่งกำเนิดตราสินค้าแฟชั่นแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ในสายตาของผู้บริโภคคุณค่าตราสินค้าแฟชั่นของแต่ละตราสินค้ามีความแตกต่างกันอย่างไม่นัยสำคัญทางสถิติ 4)ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้าแฟชั่นมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติที่มีต่อประเทศแหล่งกำเนิดตราสินค้าและคุณค่าตราสินค้าแฟชั่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quantitative research were to study: 1) Consumers’ attitude towards fashion brands 2) Consumers’ attitude towards countries of origin of fashion brands 3) Consumers’ perception of fashion brand equity and 4) the realtionship among attitude towards fashion brands, countries of origin and fashion brand equity. Four fashion brands were used: Esprit, Zara, Giordano and Dapper. The methodology of this study was survey research, using questionnaires to collect data from 400 customers aged between 20-39 years old and living in Bangkok.The result are as follows: 1)Consumers’ overall attitude towards each fashion brand was insignificantly different. 2)Consumers' overall attitude towards country of origin of each brand was significantly different. 3)Consumers’ overall perception of each fashion brand equity was Insignificantly different. 4) There was a positive correlation among attitude towards fashion brands, countries of origin and fashion brand equity at significant level of 0.05.en
dc.format.extent3535030 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1783-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์en
dc.subjectแฟชั่นen
dc.subjectสินค้าen
dc.titleทัศนคติของผู้บริโภคต่อตราสินค้า ประเทศแหล่งกำเนิด และคุณค่าตราสินค้าของสินค้าแฟชั่นen
dc.title.alternativeConsumers' attitude towards brand, country of origin and brand equity of fashion producten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRataya.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1783-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nathaporn_op.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.