Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorสุนันทา ตันติวณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-17T09:56:16Z-
dc.date.available2012-04-17T09:56:16Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19137-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสนใจในกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา 1 2. เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตสาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา 1 วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยทำแบบสอบถามความสนใจในกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างประชากร ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากเขตการศึกษา 1 จำนวน 5 โรงเรียน ๆ ละ 120 คน เป็นจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 600 คน และขอคัดลอกคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนผู้จอบแบบสอบจากโรงเรียนเหล่านั้น นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาร้อยละมัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์ลันผลการวิจัย สรุปได้ว่า 1. นักเรียนมีความสนใจในด้านวิธีการดำเนินจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ปรากฏว่านักเรียนมีความสนใจในด้านวิธีการดำเนินการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมากอันดับแรกคือ ความสนใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม รองลงมาคือความสนใจในวิธีการวัดและประเมินผลนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรรมและความสนใจในความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรม ตามลำดับ และนอกจากนั้นนักเรียนมีความสนใจอยู่ในระดับปานกลางทุกเรื่อง 2. นักเรียนมีความสนใจในด้านประเภท ลักษณะของกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ โดนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ปรากฏว่านักเรียนมีความสนใจในด้านประเภท ลักษณะของกิจกรรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทุกข้อ ความสนใจในระดับปานกลางอันดับแรกคือ ความสนใจในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการทัศนศึกษา รองลงมาคือกิจกรรมที่เกี่ยวการแข่งขันตอบปัญหาทางคณิตศาสตร์ และการแข่งขันเกมทางคณิตศาสตร์ตามลำดับ 3.ความสนใจในกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ไม่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05-
dc.description.abstractalternativePerposes : 1.To study the interest in mathematics co-curricular activities of the upper secondary school students in educational region one. 2.To study the relationship between interest in mathematics co-curricular activities and mathematics learning achievement of the upper secondary school students in educational region one. Procedure: The researcher constructed the questionnaires conoorning the co-curricular activities in mathematics and sent to the samples which were the upper secondary school students from mathayom suksa four to six in educational region one. One hundred and twenty students from five schools which ware totally six hundred students. The researcher then asked for mathematics achievement scores from these schools. The obtained data were analyzed by means of percentage, arithmetic mean, standard deviation and fearsmn’s Product Moment Correlation. Results : The results were as follows : 1. By average, the students were interested in mathematics co-curricular activities management at the average level. When considering each item in detail, the item which the students were interested in mathematics co-curricular activities management at the high level in the first rank was the interest of the usefulness which the students gained in participating the activities. The next items which the second rank and the third rank at the high level were the students’ interest in the measurement and evaluation when participating the activities and the students’ interest in the advisor’s responsibility about the consulting. All other items, the students’ interest were at moderately level. 2.By average, the students were interested in kinds, characteristics of co-curricular activities in mathematics at the average level. When considering each item in detail, all items were in moderately level. The interest which was ranked first was the interest in the field-trip activity. The ones which were ranked secondly and thirdly were the mathematics competition and mathematics games respectively. 3. There was no relationship between interest in mathematics co-curricular activities and mathematics learning achievement at the 0.05 significance-
dc.format.extent579636 bytes-
dc.format.extent399129 bytes-
dc.format.extent1015860 bytes-
dc.format.extent375393 bytes-
dc.format.extent796106 bytes-
dc.format.extent646339 bytes-
dc.format.extent1844362 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกิจกรรมเสริมหลักสูตรen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา 1en
dc.title.alternativeRelationship between interest in mathematics co-curricular activities and mathematics learning achievement of the upper secondary school students in educational region oneen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrompan.U@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunanta_Ta_front.pdf566.05 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_ch1.pdf389.77 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_ch2.pdf992.05 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_ch3.pdf366.59 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_ch4.pdf777.45 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_ch5.pdf631.19 kBAdobe PDFView/Open
Sunanta_Ta_back.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.